วันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2558

อันตรายที่ไม่ควรมองข้ามดึงปลั๊กไฟออกแล้วอย่าลืมปิดสวิทช์ซ่อมพัดลมแบบปลอดภัย2ชั้น

Fashions

อันตรายที่ไม่ควรมองข้ามดึงปลั๊กไฟออกแล้วอย่าลืมปิดสวิทช์ซ่อมพัดลมแบบปลอดภัย2ชั้น
31/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
อันตรายที่ไม่ควรมองข้ามดึงปลั๊กไฟออกแล้วอย่าลืมปิดสวิทช์ซ่อมพัดลมแบบปลอดภัย2ชั้น

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การซ่อมพัดลมหรืออะไรก็แล้วแต่
ต้องมีความปลอดภัยสำหรับตัวเองเสมอ
คือการใส่รองเท้าและพยายามไม่สัมผัสกับตัวนำไฟฟ้า
เช่นปูน ดิน สายไฟ น้ำ และอื่นๆที่เป็นตัวนำไฟฟ้า

การซ่อมทุกครั้งอย่าลืมดึงปลั๊กไฟออกก่อน
และต้องปิดสวิทช์เพื่อตัดสายไฟACหรือไฟบ้านออก1เส้น
ก่อนเสมอ
เพราะถ้าเราสัมผัสสายไฟเพียงเส้นเดียวและใส่รองเท้าไว้
จะมีความปลอดภัยสูงขึ้นมาก
แต่ถ้าเราสัมผัสสายไฟถึง2เส้นก็จะทำอันตรายสูงสุด
นั่นคือชีวิตของผู้ซ่อมทันที
หรือถ้าไม่เสียชีวิตก็อาจจะทำให้มือที่สัมผัสใช้งานไม่ได้
นั่นคือความพิการคือมือไม่สามารถใช้งานได้อีก
เป็นเรื่องที่น่ากลัวมากทีเดียว
จึงขอเตือนเนื่องจากบางครั้งหลงนึกว่าดึงปลั๊กออกแล้ว
แต่ยังเสียบปลั๊กไฟอยู่ซึ่งผมก็ลืมเป็นประจำ
และเกือบไม่รอดหลายครั้งแล้ว

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



ซ่อมพัดลมแบบปลอดภัย2ชั้นอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

Computer & Laptops

ซ่อมพัดลมแบบปลอดภัย2ชั้นอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
31/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
ซ่อมพัดลมแบบปลอดภัย2ชั้นอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การซ่อมพัดลมหรืออะไรก็แล้วแต่
ต้องมีความปลอดภัยสำหรับตัวเองเสมอ
คือการใส่รองเท้าและพยายามไม่สัมผัสกับตัวนำไฟฟ้า
เช่นปูน ดิน สายไฟ น้ำ และอื่นๆที่เป็นตัวนำไฟฟ้า

การซ่อมทุกครั้งอย่าลืมดึงปลั๊กไฟออกก่อน
และต้องปิดสวิทช์เพื่อตัดสายไฟACหรือไฟบ้านออก1เส้น
ก่อนเสมอ
เพราะถ้าเราสัมผัสสายไฟเพียงเส้นเดียวและใส่รองเท้าไว้
จะมีความปลอดภัยสูงขึ้นมาก
แต่ถ้าเราสัมผัสสายไฟถึง2เส้นก็จะทำอันตรายสูงสุด
นั่นคือชีวิตของผู้ซ่อมทันที
หรือถ้าไม่เสียชีวิตก็อาจจะทำให้มือที่สัมผัสใช้งานไม่ได้
นั่นคือความพิการคือมือไม่สามารถใช้งานได้อีก
เป็นเรื่องที่น่ากลัวมากทีเดียว
จึงขอเตือนเนื่องจากบางครั้งหลงนึกว่าดึงปลั๊กออกแล้ว
แต่ยังเสียบปลั๊กไฟอยู่ซึ่งผมก็ลืมเป็นประจำ
และเกือบไม่รอดหลายครั้งแล้ว

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



วันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2558

วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929

Beauty & Helath

วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929
30/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การต่อขดลวดสำหรับตัวนี้มีการขาด2เส้น
ดังนั้นจะต้องวัดว่าการต่อนั้นถูกต้องหรือไม่
ทำการวัดดังนี้
ให้ใช้มิเทอร์สายสีดำจับที่ขั้วCหรือคาปาซิเทอร์
ขั้วใดขั้วหนึ่งเป็นหลัก
ส่วนมิเทอร์สายสีแดงจิ้มไปที่สวิทช์เบอร์1สายสีเขียว
แล้วย้ายสวิทช์เบอร์2สีเหลือง
แล้วย้ายไปที่สวิทช์เบอร์3สีแดง
แล้วย้ายไปที่ขั้วCหรือคาปาซิเทอร์อีกขั้ว(วัดคร่อมC)
ถ้าวัดตามที่กล่าวด้านบนแล้ว
ได้โอมห์ที่สูงขึ้นเรื่อยๆแสดงว่ามิเทอร์สายสีดำ
ที่จับไว้ที่ขั้วCเป็นหลักนั้นเป็นสายสตาร์ท
แต่ถ้าได้โอมห์ลดลงเรื่อยๆก็แสดงว่า
ขั้วCที่จับไว้เป็นหลักนั้นเป็นสายรัน
เพราะเป็นการวัดลดขดลงมาเรื่อยๆนั่นเอง

ผลการวัดในเครื่องนี้คือ
มิเทอร์สายสีดำจับที่ขั้วCที่เป็นสายสตาร์ทเป็นหลัก
มิเทอร์สายสีแดงจิ้มไปที่
สวิทช์เบอร์1สีเขียวได้ 222โอมห์
สวิทช์เบอร์2สีเหลืองได้ 305โอมห์
สวิทช์เบอร์3สีแดงได้ 422.7โอมห์
ขั้วCอีกขั้วเป็นการวัดคร่อมCได้40MΩหรือไม่ขึ้น
แสดงว่าขดรันขาด
  การวัดคร่อมCจะเป็นการวัดขดลวดทั้งหมด4ขดรวมกัน
เนื่องจากขดลวดทั้ง4ขดจะต่ออนุกรมกันนั่นเอง

ดังนั้นจะต้องทำการหาขดรันที่ขาดแล้วต่อขดลวด
เข้าไปเท่านี้ก็ใช้ได้แล้ว

ถ้าวัดโอมห์แล้วถูกต้อง
คือการวัดเพิ่มขดจะต้องได้โอมห์ที่สูงขึ้น
และการวัดลดขดจะต้องได้โอมห์ที่ต่ำลง
ถ้าวัดได้ถูกต้องแล้วมอเทอร์ยังไม่หมุนก็ให้สลับสายที่ต่อไว้
เพราะอาจจะเป็นการต่อกลับเฟสกันก็ได้

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน8วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่

Toy & Babies

เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน8วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่
30/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน8วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การต่อขดลวดสำหรับตัวนี้มีการขาด2เส้น
ดังนั้นจะต้องวัดว่าการต่อนั้นถูกต้องหรือไม่
ทำการวัดดังนี้
ให้ใช้มิเทอร์สายสีดำจับที่ขั้วCหรือคาปาซิเทอร์
ขั้วใดขั้วหนึ่งเป็นหลัก
ส่วนมิเทอร์สายสีแดงจิ้มไปที่สวิทช์เบอร์1สายสีเขียว
แล้วย้ายสวิทช์เบอร์2สีเหลือง
แล้วย้ายไปที่สวิทช์เบอร์3สีแดง
แล้วย้ายไปที่ขั้วCหรือคาปาซิเทอร์อีกขั้ว(วัดคร่อมC)
ถ้าวัดตามที่กล่าวด้านบนแล้ว
ได้โอมห์ที่สูงขึ้นเรื่อยๆแสดงว่ามิเทอร์สายสีดำ
ที่จับไว้ที่ขั้วCเป็นหลักนั้นเป็นสายสตาร์ท
แต่ถ้าได้โอมห์ลดลงเรื่อยๆก็แสดงว่า
ขั้วCที่จับไว้เป็นหลักนั้นเป็นสายรัน
เพราะเป็นการวัดลดขดลงมาเรื่อยๆนั่นเอง

ผลการวัดในเครื่องนี้คือ
มิเทอร์สายสีดำจับที่ขั้วCที่เป็นสายสตาร์ทเป็นหลัก
มิเทอร์สายสีแดงจิ้มไปที่
สวิทช์เบอร์1สีเขียวได้ 222โอมห์
สวิทช์เบอร์2สีเหลืองได้ 305โอมห์
สวิทช์เบอร์3สีแดงได้ 422.7โอมห์
ขั้วCอีกขั้วเป็นการวัดคร่อมCได้40MΩหรือไม่ขึ้น
แสดงว่าขดรันขาด
  การวัดคร่อมCจะเป็นการวัดขดลวดทั้งหมด4ขดรวมกัน
เนื่องจากขดลวดทั้ง4ขดจะต่ออนุกรมกันนั่นเอง

ดังนั้นจะต้องทำการหาขดรันที่ขาดแล้วต่อขดลวด
เข้าไปเท่านี้ก็ใช้ได้แล้ว

ถ้าวัดโอมห์แล้วถูกต้อง
คือการวัดเพิ่มขดจะต้องได้โอมห์ที่สูงขึ้น
และการวัดลดขดจะต้องได้โอมห์ที่ต่ำลง
ถ้าวัดได้ถูกต้องแล้วมอเทอร์ยังไม่หมุนก็ให้สลับสายที่ต่อไว้
เพราะอาจจะเป็นการต่อกลับเฟสกันก็ได้

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน8วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่

Home & Living

พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน8วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่
30/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน8วัดโอมห์มอเทอร์ต่อขดลวดถูกต้องหรือไม่

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การต่อขดลวดสำหรับตัวนี้มีการขาด2เส้น
ดังนั้นจะต้องวัดว่าการต่อนั้นถูกต้องหรือไม่
ทำการวัดดังนี้
ให้ใช้มิเทอร์สายสีดำจับที่ขั้วCหรือคาปาซิเทอร์
ขั้วใดขั้วหนึ่งเป็นหลัก
ส่วนมิเทอร์สายสีแดงจิ้มไปที่สวิทช์เบอร์1สายสีเขียว
แล้วย้ายสวิทช์เบอร์2สีเหลือง
แล้วย้ายไปที่สวิทช์เบอร์3สีแดง
แล้วย้ายไปที่ขั้วCหรือคาปาซิเทอร์อีกขั้ว(วัดคร่อมC)
ถ้าวัดตามที่กล่าวด้านบนแล้ว
ได้โอมห์ที่สูงขึ้นเรื่อยๆแสดงว่ามิเทอร์สายสีดำ
ที่จับไว้ที่ขั้วCเป็นหลักนั้นเป็นสายสตาร์ท
แต่ถ้าได้โอมห์ลดลงเรื่อยๆก็แสดงว่า
ขั้วCที่จับไว้เป็นหลักนั้นเป็นสายรัน
เพราะเป็นการวัดลดขดลงมาเรื่อยๆนั่นเอง

ผลการวัดในเครื่องนี้คือ
มิเทอร์สายสีดำจับที่ขั้วCที่เป็นสายสตาร์ทเป็นหลัก
มิเทอร์สายสีแดงจิ้มไปที่
สวิทช์เบอร์1สีเขียวได้ 222โอมห์
สวิทช์เบอร์2สีเหลืองได้ 305โอมห์
สวิทช์เบอร์3สีแดงได้ 422.7โอมห์
ขั้วCอีกขั้วเป็นการวัดคร่อมCได้40MΩหรือไม่ขึ้น
แสดงว่าขดรันขาด
  การวัดคร่อมCจะเป็นการวัดขดลวดทั้งหมด4ขดรวมกัน
เนื่องจากขดลวดทั้ง4ขดจะต่ออนุกรมกันนั่นเอง

ดังนั้นจะต้องทำการหาขดรันที่ขาดแล้วต่อขดลวด
เข้าไปเท่านี้ก็ใช้ได้แล้ว

ถ้าวัดโอมห์แล้วถูกต้อง
คือการวัดเพิ่มขดจะต้องได้โอมห์ที่สูงขึ้น
และการวัดลดขดจะต้องได้โอมห์ที่ต่ำลง
ถ้าวัดได้ถูกต้องแล้วมอเทอร์ยังไม่หมุนก็ให้สลับสายที่ต่อไว้
เพราะอาจจะเป็นการต่อกลับเฟสกันก็ได้

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



ต่อขดลวดมอเทอร์ที่ขาด แบบ2มีดขูดฉนวนออกพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929

Camera

ต่อขดลวดมอเทอร์ที่ขาด แบบ2มีดขูดฉนวนออกพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929
30/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
ต่อขดลวดมอเทอร์ที่ขาด แบบ2มีดขูดฉนวนออกพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การต่อขดลวดมอเทอร์ที่ขาดแบบที่2
ผมใช้มีดคัทเทอร์ขูดเอาฉนวนออก
วิธีนี้จะดีกว่าแบบ1ที่ใช้หัวแร้งจี้เอาฉนวนออก
เพราะการใช้มีดขูดเอาฉนวนออกจะบัดกรีได้ง่ายกว่า
และแน่นกว่ามาก
นั่นหมายถึงโอกาสที่จะบัดกรีแล้วหลุดก็จะมีน้อยลงนั่นเอง

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน7ต่อขดลวดที่ขาดแบบใช้มีดขูดเอาฉนวนออก

Tv Audio / Video Gaming Gadgets

เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน7ต่อขดลวดที่ขาดแบบใช้มีดขูดเอาฉนวนออก
30/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน7ต่อขดลวดที่ขาดแบบใช้มีดขูดเอาฉนวนออก

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การต่อขดลวดมอเทอร์ที่ขาดแบบที่2
ผมใช้มีดคัทเทอร์ขูดเอาฉนวนออก
วิธีนี้จะดีกว่าแบบ1ที่ใช้หัวแร้งจี้เอาฉนวนออก
เพราะการใช้มีดขูดเอาฉนวนออกจะบัดกรีได้ง่ายกว่า
และแน่นกว่ามาก
นั่นหมายถึงโอกาสที่จะบัดกรีแล้วหลุดก็จะมีน้อยลงนั่นเอง

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน7ต่อขดลวดที่ขาดแบบใช้มีดขูดเอาฉนวนออก

Sports & Outdoors

พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน7ต่อขดลวดที่ขาดแบบใช้มีดขูดเอาฉนวนออก
30/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน7ต่อขดลวดที่ขาดแบบใช้มีดขูดเอาฉนวนออก

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

การต่อขดลวดมอเทอร์ที่ขาดแบบที่2
ผมใช้มีดคัทเทอร์ขูดเอาฉนวนออก
วิธีนี้จะดีกว่าแบบ1ที่ใช้หัวแร้งจี้เอาฉนวนออก
เพราะการใช้มีดขูดเอาฉนวนออกจะบัดกรีได้ง่ายกว่า
และแน่นกว่ามาก
นั่นหมายถึงโอกาสที่จะบัดกรีแล้วหลุดก็จะมีน้อยลงนั่นเอง

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558

หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929

Mobiles & Tablets

หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929
29/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ถอดกระโหลกหน้าหรือฝาครอบหน้ามอเทอร์ออก
พบขั้วของขดลวดพาดอยู่กับฝาบู๊ทหน้า
และฝาบู๊ทหน้าก็จะติดอยู่กับแผ่นเหล็กสเทเทอร์ด้วยน๊อท
ทำให้ส่วนที่เป็นอลูมิเนียมและเหล็กมีโอมห์ถึงกัน

ลองเอากระดาษรองขดลวดที่พาดกับฝาบู๊ทหน้าไว้
แล้วลองวัดโอมห์ปรากฏว่าไม่ช็อทลงสเทเทอร์อีกแล้ว

สาเหตุที่ขดลวดพาดลงบริเวณฝาบู๊ทหน้า
เพราะสายรัดขดลวดขาด
เนื่องจากการใช้งานพัดลมไปนานๆ
สายรัดก็จะไหม้กรอบ
และขาดไปในที่สุด
ทำให้ขดลวดบริเวณขั้วขดลวดพาดอยู่ที่ฝาบู๊ทหน้า
และเมื่อมีการใช้งานพัดลมก็จะเกิดความร้อนและสั่น
ทำให้ขดลวดที่อาบฉนวนถลอกหรือหลุดออก
ทำให้ขดลวดช็อทลงฝาบู๊ทหน้าได้นั่นเอง

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!



เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน6หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์

Media Music & Books

เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน6หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์
29/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เสียงตืดหมุนช้าระเบิดพัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน6หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ถอดกระโหลกหน้าหรือฝาครอบหน้ามอเทอร์ออก
พบขั้วของขดลวดพาดอยู่กับฝาบู๊ทหน้า
และฝาบู๊ทหน้าก็จะติดอยู่กับแผ่นเหล็กสเทเทอร์ด้วยน๊อท
ทำให้ส่วนที่เป็นอลูมิเนียมและเหล็กมีโอมห์ถึงกัน

ลองเอากระดาษรองขดลวดที่พาดกับฝาบู๊ทหน้าไว้
แล้วลองวัดโอมห์ปรากฏว่าไม่ช็อทลงสเทเทอร์อีกแล้ว

สาเหตุที่ขดลวดพาดลงบริเวณฝาบู๊ทหน้า
เพราะสายรัดขดลวดขาด
เนื่องจากการใช้งานพัดลมไปนานๆ
สายรัดก็จะไหม้กรอบ
และขาดไปในที่สุด
ทำให้ขดลวดบริเวณขั้วขดลวดพาดอยู่ที่ฝาบู๊ทหน้า
และเมื่อมีการใช้งานพัดลมก็จะเกิดความร้อนและสั่น
ทำให้ขดลวดที่อาบฉนวนถลอกหรือหลุดออก
ทำให้ขดลวดช็อทลงฝาบู๊ทหน้าได้นั่นเอง

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!




พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน6หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์

Watches Sunglasses Jewery

พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน6หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์
29/10/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมIMARFLEXรุ่นIF929 ตอน6หาจุดที่ขดลวดช็อทลงสเทเทอร์

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ถอดกระโหลกหน้าหรือฝาครอบหน้ามอเทอร์ออก
พบขั้วของขดลวดพาดอยู่กับฝาบู๊ทหน้า
และฝาบู๊ทหน้าก็จะติดอยู่กับแผ่นเหล็กสเทเทอร์ด้วยน๊อท
ทำให้ส่วนที่เป็นอลูมิเนียมและเหล็กมีโอมห์ถึงกัน

ลองเอากระดาษรองขดลวดที่พาดกับฝาบู๊ทหน้าไว้
แล้วลองวัดโอมห์ปรากฏว่าไม่ช็อทลงสเทเทอร์อีกแล้ว

สาเหตุที่ขดลวดพาดลงบริเวณฝาบู๊ทหน้า
เพราะสายรัดขดลวดขาด
เนื่องจากการใช้งานพัดลมไปนานๆ
สายรัดก็จะไหม้กรอบ
และขาดไปในที่สุด
ทำให้ขดลวดบริเวณขั้วขดลวดพาดอยู่ที่ฝาบู๊ทหน้า
และเมื่อมีการใช้งานพัดลมก็จะเกิดความร้อนและสั่น
ทำให้ขดลวดที่อาบฉนวนถลอกหรือหลุดออก
ทำให้ขดลวดช็อทลงฝาบู๊ทหน้าได้นั่นเอง

เชิญชมวีดีโอประกอบครับ!