วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

เครื่องปั่นNATIONAL ตอน3ใช้ไดโอดมาจำกัดกระแสให้สวิทช์เบอร์1



เครื่องปั่นNATIONAL ตอน3ใช้ไดโอดมาจำกัดกระแสให้สวิทช์เบอร์1
28/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เครื่องปั่นNATIONAL ตอน3ใช้ไดโอดมาจำกัดกระแสให้สวิทช์เบอร์1

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ดึงปลั๊กไฟออกก่อน

สายไฟACเส้นสีขาวจะเข้ามาที่ไดโอดที่ขั้วKATHODE
(ขั้ว-)
และต่อกับสวิทช์เบอร์2 และสวิทช์PULSE

ส่วนสายไฟสีดำคือสายไฟACอีกเส้น
ที่ผ่านขดลวดมอเตอร์ออกมาเป็นสายสีดำ
ต่ออยู่กับแท่งรับสวิทช์

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 หรือกดสวิทช์PULSE
แผ่นทองแดงก็จะมาแตะกับแท่งรับสวิทช์
ทำให้สายสีขาวกับสีดำชอตติดกัน
และทำให้มอเตอร์หมุนแรงที่สุด
เพราะจะนำกระแสทั้งซีกบวกและซีกลบ

แต่ถ้ากดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีขาวไฟซีกลบผ่านไดโอด
ออกขั้วANODEครบวงจรที่สายไฟสีดำ
ส่วนไฟซีกบวกไม่สามารถผ่านออกมาได้
เพราะไดโอดจะนำกระแสทางเดียว
ทำให้กระแสที่สวิทช์เบอร์1เหลือครึ่งเดียว
ทำให้สวิทช์เบอร์1 ปั่นได้เบากว่าเบอร์2 และสวิทช์PULSE

ไดโอดขั้วKATHODEจะยอมให้ไฟซีกลบผ่านอย่างเดียว
ซีกบวกจะไม่สามารถผ่านได้
ขั้วANODEก็จะยอมให้ไฟซีกบวกผ่านอย่างเดียว
ซีกลบจะไม่สามารถผ่านได้

ไฟACจะมีทั้งซีกบวกและซีกลบ


เครื่องปั่นNATIONAL ตอน2ซ่อมสวิทช์



เครื่องปั่นNATIONAL ตอน2ซ่อมสวิทช์
28/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เครื่องปั่นNATIONAL ตอน2ซ่อมสวิทช์

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ดึงปลั๊กไฟออกก่อน
จากนั้นถอดฝาด้านล่างออก
ใช้น้ำมันโซแน็คซ์ฉีดเข้าไปที่สวิทช์
จากนั้นกดสวิทช์ที่เสียย้ำๆ จนกว่าจะใช้งานได้
เท่านี้ก็เสร็จการซ่อมสวิทช์แล้ว


เครื่องปั่นNATIONAL ตอน1ปั่นเสียงดัง



เครื่องปั่นNATIONAL ตอน1ปั่นเสียงดัง
28/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เครื่องปั่นNATIONAL ตอน1ปั่นเสียงดัง

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ลองนำโถปั่นออก
แล้วเสียบไฟ กดสวิทช์เบอร์2ดู
ปรากฏว่าไม่มีเสียงดัง

เอาโถปั่นใส่แล้ว เสียงดังน่ากลัว

แสดงว่าเสียที่โถปั่น
ลองเอาน้ำใส่ให้เต็มแล้วทิ้งไว้ประมาณ12ชั่วโมง
ปรากฏว่าน้ำลดเหลือครึ่งโถปั่น

ถ้าเป็นรุ่นใหม่

ถ้าไม่ใส่โถปั่นเข้าที่ จะไม่สามารถกดสวิทช์ได้

วันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน4วงจรพัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3



พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน4วงจรพัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3
27/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน4วงจรพัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1
2.ขดSTARTขดที่2
3.ขดSTARTขดที่3
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)

CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC
/////////////////////////////////////////////////////
สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์1สีเขียว
เบอร์2สีเหลือง เบอร์3สีขาว
สายมอเตอร์หลัก(สายรัน)เป็นสีเทาต่ออยู่ที่C
และมีสายไฟACมาต่อร่วมด้วย
สายสตาร์ทสีชมพูต่ออยู่กับขั้วCอีกขั้ว

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีเขียวซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีเขียวจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีเขียวแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย

สายสีเขียวแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมKASHIWAรุ่น16นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
สำหรับรุ่น16นิ้วนี้ ยังไม่เคยวัดไฟคร่อมC
แต่จะใช้เดาว่า น่าจะประมาณ300กว่าโวลท์

ถ้าเป็นHATARIรุ่น18นิ้ว วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1  328 ACV
สวิทช์เบอร์2  357 ACV
สวิทช์เบอร์1  368 ACV

ถ้าเป็นPROTECHรุ่น12นิ้ว วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1  244 ACV
สวิทช์เบอร์2  248 ACV
สวิทช์เบอร์1  252 ACV
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีเหลืองซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีเหลืองจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีเหลืองแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย

สายสีเหลืองแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีขาวซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีขาวจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีขาวแยกที่1
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย
ทำให้ครบวงจร

สายสีขาวแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1 พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2, กับขดSTARTขดที่3

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3 พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ


พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน3หมุนใบพัดว่าคล่องหรือไม่



พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน3หมุนใบพัดว่าคล่องหรือไม่
27/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน3หมุนใบพัดว่าคล่องหรือไม่

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

พัดลมรุ่นนี้เป็นพัดลมขนาด16นิ้ว
ใช้ไฟ220VAC/50HZ
กินกระแสไฟฟ้า 0.24 A
ใช้กำลังไฟฟ้า 55 W

ดึงปลั๊กไฟออกก่อน
จากนั้นถอดตะแกรงด้านหน้าออก
แล้วใช้มือหมุนดู
ถ้าใบพัดหมุนคล่องก็แสดงว่า
อาการหมุนช้าหรือไม่หมุนไม่ได้เกิดที่จุดนี้

สาเหตุที่พัดลมหมุนช้าหรือไม่หมุน
เสียที่ขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2 ชอตกัน
ทำให้ไฟสตาร์ทไม่พอ
เป็นสาเหตุให้พัดลมหมุนช้า หรือไม่หมุน


พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน2วัดCคาปาซิเตอร์



พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน2วัดCคาปาซิเตอร์
27/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน2วัดCคาปาซิเตอร์

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

พัดลมรุ่นนี้เป็นพัดลมขนาด16นิ้ว
ใช้ไฟ220VAC/50HZ
กินกระแสไฟฟ้า 0.24 A
ใช้กำลังไฟฟ้า 55 W

มิเตอร์ปรับไปย่านAC
กดสวิทช์เบอร์1 แล้ววัดไฟคร่อมCสตาร์ท
ได้ 227 VAC
แสดงว่าไม่มีไฟสตาร์ท เป็นการวัดไฟบ้าน220เท่านั้น

การวัดคร่อมCสตาร์ท
จะเป็นการวัดไฟมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
กับไฟสตาร์ทรวมกัน
ที่สวิทช์เบอร์1 สำหรับรุ่น16นิ้ว จะต้องได้ประมาณ300VAC
ถ้าเป็นรุ่น12นิ้วจะต้องได้ประมาณ 244 VAC

ดึงปลั๊กไฟออกก่อน
บัดกรีสายที่ขั้วCสตาร์ทออก1เส้น
ใช้มิเตอร์FLUKE115ปรับไปย่านไดโอดC
แล้วกดปุ่มเหลืองก็จะเป็นการวัดC
Cรุ่นนี้คือ 2UF วัดได้1.92UF
ค่าคลาดเคลื่อนเล็กน้อนก็แสดงว่าดี

ถ้าจะวัดด้วยมิเตอร์เข็มก็ให้เข้าไปดูวิธีการวัด
ได้ที่ ตารางการวัดค่าซีCหรือคาปาซิเตอร์CAPACITORด้วยมิเตอร์เข็ม
http://repairsmcu.blogspot.com/2015/02/ccapacitor.html

สาเหตุที่พัดลมหมุนช้าหรือไม่หมุน
เสียที่ขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2 ชอตกัน
ทำให้ไฟสตาร์ทไม่พอ
เป็นสาเหตุให้พัดลมหมุนช้า หรือไม่หมุน


พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน1หมุนช้าหรือไม่หมุนขดสตาร์ทชอตข้ามขด




พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน1หมุนช้าหรือไม่หมุนขดสตาร์ทชอตข้ามขด
27/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
พัดลมKASHIWAรุ่นCF-C059-3 ตอน1หมุนช้าหรือไม่หมุนขดสตาร์ทชอตข้ามขด

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า

เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

พัดลมรุ่นนี้เป็นพัดลมขนาด16นิ้ว
ใช้ไฟ220VAC/50HZ
กินกระแสไฟฟ้า 0.24 A
ใช้กำลังไฟฟ้า 55 W

ที่ขั้วCคาปาซิเตอร์
ขั้วที่มีไฟACต่อร่วมกับสายสีเทา
คือสายรันหรือสายมอเตอร์หลัก

ส่วนขั้วCคาปาซิเตอร์อีกขั้วคือสายสตาร์ทสายสีชมพู

สายสวิทช์เบอร์1 สีเขียว
สายสวิทช์เบอร์2 สีเหลือง
สายสวิทช์เบอร์3 สีขาว
สายรันหรือสายมอเตอร์หลัก คือสายสีเทาต่อกับขั้วC
สายสตาร์ท คือสายสีชมพูต่อกับขั้วC

มิเตอร์ตั้งย่านโอมห์
สายสีดำจับที่ขั้วCสายสีเทาเป็นหลัก
แล้วสายสีแดงจับที่สวิทช์เบอร์3 ได้ 410.6โอมห์
เป็นการวัดขดรันหรือขดมอเตอร์หลักขดเดียว

สายสีแดงจับที่สวิทช์เบอร์2 ได้ 498.8โอมห์
เป็นการวัดขดรันกับขดสตาร์ทขดที่3รวมกัน

สายสีแดงจับที่สวิทช์เบอร์1 ได้ 531โอมห์
เป็นการวัดขดรันกับขดสตาร์ทขดที่3
กับขดสตาร์ทขดที่2รวมกัน

สายสีแดงจับที่ขั้วCคาปาซิเตอร์
สายสีชมพู เป็นการวัดคร่อมC ได้ 521โอมห์
เป็นการวัดขดรันกับขดสตาร์ทขดที่3
กับขดสตาร์ทขดที่2กับขดสตาร์ขดที่1รวมกัน
ทั้ง4ขด
ปรากฏว่าได้โอมห์ต่ำลง
แสดงว่าต้องมีการชอตข้ามขด

สายสีดำจับที่ขั้วCสายสีชมพูสายสตาร์ทเป็นหลัก
แล้วสายสีแดงจับที่สวิทช์เบอร์1 ได้ 63โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว

สายสีแดงจับที่สวิทช์เบอร์2 ได้ 38โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2รวมกัน
โอมห์จะต้องมากกว่าเดิม
แต่ปรากว่าโอมห์ต่ำกว่าเดิม
แสดงว่า ขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2 ชอตกัน
ทำให้ไฟสตาร์ทไม่พอ
เป็นสาเหตุให้พัดลมหมุนช้า หรือไม่หมุน


วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

วงจรพัดลมPROTECHรุ่นCFT-121M



วงจรพัดลมPROTECHรุ่นCFT-121M
26/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
วงจรพัดลมPROTECHรุ่นCFT-121M

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 280 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 41 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 40.8 โอมห์
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก = 700 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ค่าโอมห์
ของขดลวดทั้ง4ขดรวมกันคือ 1100โอมห์

CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC
/////////////////////////////////////////////////////
สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์1สีเขียว
เบอร์2สีเหลือง เบอร์3สีขาว
สายมอเตอร์หลัก(สายรัน)เป็นสีขาวอีกเส้นต่ออยู่ที่C
และมีสายไฟACมาต่อร่วมด้วย
สายสตาร์ทสีชมพูต่ออยู่กับขั้วCอีกขั้ว

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีเขียวซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีเขียวจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีเขียวแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย

สายสีเขียวแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมPROTECHรุ่น12นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
สำหรับรุ่น12นิ้วนี้ วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 244 ACV
สวิทช์เบอร์2 248 ACV
สวิทช์เบอร์1 252 ACV

ถ้าเป็นHATARIรุ่น18นิ้ว วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 328 ACV
สวิทช์เบอร์2 357 ACV
สวิทช์เบอร์1 368 ACV
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีเหลืองซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีเหลืองจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีเหลืองแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย

สายสีเหลืองแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสี่ยงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมPROTECHที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีขาวซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีขาวจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีขาวแยกที่1
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย
ทำให้ครบวงจร

สายสีขาวแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมPROTECH 12นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1 พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2, กับขดSTARTขดที่3

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3 พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ