วงจรพัดลมHATARIรุ่นHE-S18M1
23/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
วงจรพัดลมHATARIรุ่นHE-S18M1
พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 =
361 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 =
55.5 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 =
47.9 โอมห์
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก =
331.4 โอมห์
ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ค่าโอมห์
ของขดลวดทั้ง4ขดรวมกันคือ 795โอมห์
เทอร์โมฟิวส์จะมีโอมห์ต่ำมากประมาณ 0.0โอมห์
CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC
/////////////////////////////////////////////////////
สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์123
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีชมพูจะต่อไฟเข้าสายสีดำซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีดำจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีดำแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
แยกออกเป็น2ทาง
สายสีเทาแยกที่1
ผ่านเทอร์โมฟิวส์ที่แปะติดกับขดลวดมอเตอร์
เมื่อมีความร้อนสูงก็จะขาด มอเตอร์หยุดทำงาน
เพื่อป้องกันไฟไหม้
แล้วสายสีขาวเทอร์โมฟิวส์มาครบวงจรที่ไฟACสีน้ำเงิน
สายสีเทาแยกที่2
ไฟACวิ่งไปรอที่ขาCAPACITORขั้วหนึ่ง
สายสีดำแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า
ในพัดลมHATARIที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.8UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง
แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีชมพูจะต่อไฟเข้าสายสีน้ำตาลซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีน้ำตาลจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีน้ำตาลแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
แยกออกเป็น2ทาง
สายสีเทาแยกที่1
ผ่านเทอร์โมฟิวส์ที่แปะติดกับขดลวดมอเตอร์
เมื่อมีความร้อนสูงก็จะขาด มอเตอร์หยุดทำงาน
เพื่อป้องกันไฟไหม้
แล้วสายสีขาวเทอร์โมฟิวส์มาครบวงจรที่ไฟACสีน้ำเงิน
สายสีเทาแยกที่2
ไฟACวิ่งไปรอที่ขาCAPACITORขั้วหนึ่ง
สายสีน้ำตาลแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสี่ยงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า
ในพัดลมHATARIที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.8UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง
แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีชมพูจะต่อไฟเข้าสายสีแดงซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีแดงจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีแดงแยกที่1
ผ่านมอเตอร์หลักออกมาเป็นสายสีเทา
แยกออกเป็น2ทาง
สายสีเทาแยกที่1
ผ่านเทอร์โมฟิวส์ที่แปะติดกับขดลวดมอเตอร์
เมื่อมีความร้อนสูงก็จะขาด มอเตอร์หยุดทำงาน
เพื่อป้องกันไฟไหม้
แล้วสายสีขาวเทอร์โมฟิวส์มาครบวงจรที่ไฟACสีน้ำเงิน
สายสีเทาแยกที่2
ไฟACวิ่งไปรอที่ขาCAPACITORขั้วหนึ่ง
สายสีแดงแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า
ในพัดลมHATARIที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.8UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง
แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////
เมื่อกดสวิทช์เบอร์1
พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2,
กับขดSTARTขดที่3
เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น
เมื่อกดสวิทช์เบอร์3
พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น