วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

วงจรพัดลมPROTECHรุ่นCFT-121M



วงจรพัดลมPROTECHรุ่นCFT-121M
26/2/2558 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
วงจรพัดลมPROTECHรุ่นCFT-121M

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 280 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 41 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 40.8 โอมห์
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก = 700 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ค่าโอมห์
ของขดลวดทั้ง4ขดรวมกันคือ 1100โอมห์

CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC
/////////////////////////////////////////////////////
สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์1สีเขียว
เบอร์2สีเหลือง เบอร์3สีขาว
สายมอเตอร์หลัก(สายรัน)เป็นสีขาวอีกเส้นต่ออยู่ที่C
และมีสายไฟACมาต่อร่วมด้วย
สายสตาร์ทสีชมพูต่ออยู่กับขั้วCอีกขั้ว

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีเขียวซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีเขียวจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีเขียวแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย

สายสีเขียวแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมPROTECHรุ่น12นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
สำหรับรุ่น12นิ้วนี้ วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 244 ACV
สวิทช์เบอร์2 248 ACV
สวิทช์เบอร์1 252 ACV

ถ้าเป็นHATARIรุ่น18นิ้ว วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 328 ACV
สวิทช์เบอร์2 357 ACV
สวิทช์เบอร์1 368 ACV
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีเหลืองซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีเหลืองจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีเหลืองแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย

สายสีเหลืองแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสี่ยงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมPROTECHที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีขาวซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีขาวจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีขาวแยกที่1
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับขั้วC และจะมีสายไฟACสีน้ำเงินมาต่อร่วมด้วย
ทำให้ครบวงจร

สายสีขาวแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมPROTECH 12นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.2UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1 พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2, กับขดSTARTขดที่3

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3 พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ


3 ความคิดเห็น:

amnat333 กล่าวว่า...

พี่ครับถ้าพัดลมไม่มีเทอร์โมฟิวส์ เราจะหาซื้อเทอร์โมฟิวส์มาต่อที่สายรันให้มันได้ไหมครับ

somMCU กล่าวว่า...

ต่อได้ครับปัญหาคือต้องเอาตัวเทอร์โมฟิวส์ไปแปะขดลวด
เข้าไปที่นี่ก่อนครับ พัดลม1 http://repairsmcu.blogspot.com/2016/01/fan.html
ดู วงจรพัดลมHATARI เเละเปลี่ยนเทอร์โมฟิวส์

somMCU กล่าวว่า...

ต่อได้ครับปัญหาคือต้องเอาตัวเทอร์โมฟิวส์ไปแปะขดลวด
เข้าไปที่นี่ก่อนครับ พัดลม1 http://repairsmcu.blogspot.com/2016/01/fan.html
ดู วงจรพัดลมHATARI เเละเปลี่ยนเทอร์โมฟิวส์