คลิกติดตาม ถูกใจเพจ แชร์ เพื่อรับข้อมูลใหม่ทันที ซ่อมเครื่องซักผ้าพัดลมอื่นๆ ฟรี! ซ่อมง่ายด้วยคลิปซ่อม ชมสแตมป์เหรียญพระของเก่า ซื้อเครื่องมือ รักษาตัว คอมพิวเตอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์
วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2558
PRESCALERยืดเวลาการนับในTIMER1 ตอน1คำนวณเวลาอินเทอร์รัพท์AVRSTUDIO
PRESCALERยืดเวลาการนับในTIMER1 ตอน1คำนวณเวลาอินเทอร์รัพท์AVRSTUDIO
25/6/2558 SONGCHAI
PRAPATRUNGSEE
PRESCALERยืดเวลาการนับในTIMER1 ตอน1คำนวณเวลาอินเทอร์รัพท์AVRSTUDIO
สูตรหาค่านับของTIMER/COUNTER
OVERFLOW
จำนวนครั้งการนับ =
เวลาที่ต้องการอินเทอร์รัพท์ /
((1/F)*PRESCALER))
Start Debug ก่อน
1 คลิก Debug
2 ชี้ Windows
3 คลิก I/O View
4 คลิก TIMER_COUNTER_1
5 คลิก Prescaler source
จากนั้นก็ทำการจำลองได้แล้ว
AVRSTUDIO
ไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลAVR
1CLOCK = 1INSTRUCTION
ความถี่ขึ้น1ครั้งลง1ครั้งเรียกว่า 1CLOCKหรือ1CYCLE
1INSTRUCTION =การทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์1ครั้ง
TIMER/COUNTER1
มี16บิท คือ65536ค่า(0-65535)
ดังนั้นการโอเวอร์โฟลว์สูงสุด
ของ TIMER/COUNTER1 คือ65536ครั้ง
ค่าสูงสุดของ16บิทคือ65535
พอนับครั้งที่65536
ก็จะเป็นการนับโอเวอร์โฟลว์
โอเวอร์โฟลว์ หมายถึงการนับเกินนั่นเอง
เมื่อเกิดการโอเวอร์โฟลว์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ก็จะเซ็ทบิทFLAGเป็น1
หรือยกธงขึ้นนั่นเอง
หลังจากยกธงขึ้นแล้ว
ก็จะกระโดดจากฟังค์ชันหลักหรือฟังค์ชันmainทันที
มาเข้าที่ฟังชันอินเทอร์รัพท์
เมื่อเข้ามาที่ฟังชันอินเทอร์รัพท์แล้ว
ไมโครคอนโทรลเลอร์ก็จะเซ็ทFLAGเป็น0
หรือยกธงลงโดยอัตโนมัติ
การยกธงลงเพื่อให้สามารถทำงานอินเทอร์รัพท์
ในรอบต่อไปได้
หลังจากทำงานในฟังชันอินเทอร์รัพท์เสร็จแล้ว
ก็จะกลับเข้าไปที่ฟังค์ชันหลักหรือฟังค์ชันmain
เพื่อทำงานที่ค้างไว้ในฟังชันหลักต่อไป
เวลาสูงสุดที่จะโอเวอร์โฟลว์
คือ 65536 X
0.125US =8192US(ไมโครวินาที)
ถ้าต้องการให้เวลายาวนานกว่านี้
ก็สามารถใช้ปรีสเกลเลอร์เพิ่มเวลาการนับขึ้นมาได้
ปรีสเกลเลอร์คือการเพิ่มเวลาการนับTIMERนั่นเอง
สมมุติว่าใช้CRYSTAL 8MHZ
ก็หมายความว่า ความถี่8MHZทำงาน1ครั้งนั่นเอง
ยิ่งความถี่สูงก็ยิ่งทำงานเร็วนั่นเอง
สูตรหาเวลา T
=1/HZ
เวลา =1/ความถี่
1/8MHZ = 0.125US (ไมโครวินาที)
หมายถึง การทำงาน1ครั้งของAVR คือ0.125US
ถ้าใช้PRESCALERขนาด1
ก็หมายความว่าไม่มีPRESCALERนั่นเอง
เพราะ1คูณอะไรก็ได้ค่าตามที่มาคูณกันนั่นเอง
ถ้าใช้PRESCALERขนาด1024
ก็จะได้เวลาการนับ1ครั้ง
เพิ่มขึ้นเป็น 0.125 X
1024 = 128US(ไมโครวินาที)
และเวลาที่จะได้สูงสุดในการโอเวอร์โฟลว์
คือการนับสูงสุด 65536ครั้ง
= 65536 X 128
=8388608USหรือ8.388SEC(วินาที)
ถ้าต้องการให้โอเวอร์โฟลว์ทุกๆ1วินาที
ก็เอา1วินาที ตั้ง
แล้วเอา128US หาร
ก็จะได้เท่ากับ 7812.5ครั้ง
ปัดเศษเป็น7813ครั้ง
เอาค่าสูงสุด16บิท65536 - 7813ครั้ง
ก็จะได้ค่าเริ่มต้นการนับดังนี้
=57723
=0XE17B
= TCNT1H=0XE1;
= TCNT1L=0X7B;
ถ้าไม่ใช้PRESCALER
ก็ไม่ต้องคูณด้วยPrescalerนั่นเองก็จะได้ดังนี้
1/8MHZ=0.125US
ถ้าต้องการอินเทอร์รัพท์ทุกๆ5MS
=5MS/0.125US =นับ40000ครั้งก็จะได้5MS
TIMER1ค่าสูงสุดที่จะโอเวอร์โฟลว์คือ65536
=65536-40000 =25536
=0X63C0
=TCNT1H =0X63
=TCNT1L =0XC0
SOURCE CODE
/*
*
TIMER1_OVF_INTERRUPT_PRESCALER .C
*
* Created:
25/6/2558 18:35:45
* Author: sc
*/
#include <avr/io.h>//REGISTER OF AVR
#include <avr/interrupt.h>//INTERRUPT SERVICE
ROUTINE
int main(void)
{
//sei();//GLOBAL
INTERRUPT ENABLE
SREG=1<<7;//GLOBAL
INTERRUPT ENABLE
//T/C1
CONTROLL PRESCALER, IF CS10-3=0 T/C1 STOP
TCCR1B =
(1<<CS12)|(0<<CS11)|(1<<CS10);
TIMSK =
1<<TOIE1;//T/C1 OVERFLOW INTERRUPT ENABLE
TCNT1H=0XE1;//HIGH
BYTE T/C1
TCNT1L=0X7B;//LOW
BYTE T/C1
DDRA=255;//PORTA
ALL OUTPUT
while(1)
{
PORTB=255;
}
}
ISR(TIMER1_OVF_vect)
{
TCNT1H=0XE1;//HIGH BYTE T/C1
TCNT1L=0X7B;//LOW
BYTE T/C1
PORTA=~PORTA;//TOGGLE PORTA
}
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น