วันอังคารที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560

วัด นํ้าประปา นํ้าอัดลม มีค่าความต้านทานเท่าไร กี่โอมห์ How much resistance in water










วัด นํ้าประปา นํ้าอัดลม มีค่าความต้านทานเท่าไร กี่โอมห์ How much resistance in water
31/10/2560 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
วัด นํ้าประปา นํ้าอัดลม มีค่าความต้านทานเท่าไร กี่โอมห์ How much resistance in water

น้ำมีค่าความต้านทาน
วัดได้ประมาณ ตั้งแต่1K จนถึง500K
ขึ้นอยู่กับกระแสไฟ ระยะทางและความลึกของน้ำ
คือ ยิ่งกระแสไฟมาก ยิ่งความต้านทานต่ำ
ยิ่งระยะทางใกล้ ความต้านทานก็ยิ่งต่ำ
ยิ่งน้ำลึก ยิ่งความต้านทานต่ำ

วัดจากน้ำประปา ใส่ถ้วยน้ำประมาณ4ซม.
ย่าน X10K
แตะผิวน้ำ ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 50ดิจิตอลได้240K
ลึก1มม. ได้35K                         ดิจิตอลได้170K
ลึก1ซม. -----                            ดิจิตอลได้140K
ลึก3ซม. ได้25K                         ดิจิตอลได้19K
ลึก4ซม. -----                            ดิจิตอลได้12K

ย่าน X1K
แตะผิวน้ำ ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 50K
ลึก1มม. ได้30K
ลึก3ซม. ได้13K

ย่าน X100
แตะผิวน้ำ ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 50K
ลึก1มม. ได้20K
ลึก3ซม. ได้3K

ย่าน X1
แตะผิวน้ำ ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. เข็มไม่ขึ้น
ลึก4ซม. ได้1K

น้ำหยดลงพลาสติก1หยด แล้ววัด
วัดจากน้ำประปา
ย่าน X10K
ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 25K ดิจิตอลได้ 57K
ปลายโพรบห่างกัน2มม. ได้ 26K     ดิจิตอลได้ 63K
ปลายโพรบห่างกัน1ซม. ได้ 60K    ดิจิตอลได้ 55K-100Kสวิง

ย่าน X1K
ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 20K
ปลายโพรบชิดกันที่2มม. ได้ 22K
ปลายโพรบห่างกัน1ซม. ได้ 46K   

ย่าน X100
ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 10K
ปลายโพรบห่างกัน1ซม. ได้ 45K   

ย่าน X1
ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ ค่าอนันต์ คือมากกว่า2K
ปลายโพรบห่างกัน1ซม. เข็มไม่ขึ้น   

น้ำอัดลม 1หยด
ย่าน X10K                                          
ปลายโพรบชิดกันที่สุดคือ1มม. ได้ 35K   ดิจิตอลได้ 48K
ปลายโพรบห่างกัน2มม. ได้ 37K       ดิจิตอลได้ 51K
ปลายโพรบห่างกัน1ซม. ได้ 57K       ดิจิตอลได้ 55K - 65K

สรุป น้ำประปา มีค่าโอมห์สูงกว่า น้ำอัดลมแบบไร้น้ำตาล
เล็กน้อย หรือใกล้เคียงกัน




ไม่มีความคิดเห็น: