วันอังคารที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ไฟฟ้า #51 หลอดPhilips LED T8 ถอดบัลลาสออก ประหยัดไฟ32% เช่นจ่ายค่าไฟเดือนละ148บาท ถอดบัลลาสจ่าย100บาท


















ไฟฟ้า #51 หลอดPhilips LED T8 ถอดบัลลาสออก ประหยัดไฟ32% เช่นจ่ายค่าไฟเดือนละ148บาท ถอดบัลลาสจ่าย100บาท
8/7/2563 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

ทดสอบการกินไฟ ด้วย มิเตอร์การไฟฟ้า 5(15A)
หลอดLED T8 ยี่ห้อ Philips นีออนสั้น

 ไม่ถอดบัลลาส
 ถอดบัลลาส
มิเตอร์หมุน1รอบ
 9นาที49วินาที
 14นาที35วินาที
Volt / Amp
234.7V / 44.8mA
234.5V / 62.7mA

ไม่ถอดบัลลาสจ่ายค่าไฟเพิ่ม 48%
ถอดบัลลาสประหยัดไฟ 32%

เช่น ถ้าไม่ถอดบัลลาสจ่ายค่าไฟ 148บาท
แต่ถ้าถอดบัลลาสจ่ายค่าไฟ 100บาท
 
ถ้าวัดไฟและกระแส ผลที่ได้คือ ไม่ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า
ถ้าวัดด้วยมิเตอร์การไฟฟ้า ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า

เพราะบัลลาสเป็นตัวเหนี่ยวนำ(L) 

ดังนั้นเมื่อมีกระแสไหลผ่านL ก็จะเกิดสนามแม่เหล็ก

ส่วนพลังงานที่สร้างสนามแม่เหล็ก โหลดไม่ได้นำไปใช้งาน

แต่เราต้องจ่ายค่าไฟในส่วนนี้ด้วย เรียกว่า Reactive Power(VAR)

ส่วนที่โหลดนำไปใช้งาน เรียกว่า Active Power(W)

Reactive Power + Active Power = Apparent Power(VA)

Reactive Power จะเป็นตัวทำให้ค่าPower Factor ไม่เท่ากับ 1


โหลด R, L และ C มีผลอย่างไรต่อค่า Power Factor
โหลดที่เราใช้ในระบบไฟฟ้ามีหลายประเภท
แต่ละประเภทจะส่งผลต่อระบบไฟฟ้าต่างกัน
สามารถจำแนกโหลดพื้นฐานเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้คือ
Load ประเภท Resistive (R), Inductive (L) และ Capacitive  (C)

1. โหลดความต้านทาน (Resistive Load, R)
โหลดความต้าน เช่น หลอดไฟฟ้าแบบไส้ เตารีดไฟฟ้า
หม้อหุงข้าว เครื่องทำน้ำอุ่น เป็นต้น
โหลดเหล่านี้จะทำให้ค่า Power Factor เท่ากับ 1
คือ กระแสและแรงดันมีมุมเฟสทางไฟฟ้าเดียวกัน
ทำให้ไม่มีการใช้พลังงานรีแอคทีฟและไม่เกิดการสูญเสียพลังงานในระบบ

2.โหลดตัวเหนี่ยวนำ (Inductive Load, L)
โหลดตัวเหนี่ยวนำเป็นโหลดที่ทำให้ค่า Power Factor ไม่เท่ากับ 1 เช่น
มอเตอร์ บัลลาสต์ของหลอดฟลูออเรสเซน เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น 
กระแสที่สร้างขึ้นจะล้าหลังแรงดัน 90 ° เสมอหรือเกิดมุมทางไฟฟ้าต่างกัน (Phase-Shifted) กระแสตามหลังแรงดัน 90 °
ซึ่งหลายคนจะรู้จักโหลดประเภทนี้เป็นแบบ Power Factor Lagging (ล้าหลัง)


3 โหลดตัวเก็บประจุ (Capacitive Load, C)
โหลดตัวเก็บประจุจะทำให้ค่า Power Factor ไม่เท่ากับ 1 เช่นกัน
ส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมจะเป็น Capacitor Bank
โหลด C กระแสที่สร้างขึ้นจะนำหน้าแรงดันอยู่ 90 ° เสมอ
หรือเกิดมุมทางไฟฟ้าต่างกัน (Phase-Shifted)
กระแสนำหน้าแรงดัน 90 °
ซึ่งหลายคนรู้จักโหลดประเภทนี้เป็นแบบ Power Factor Leading (นำหน้า)



วันอังคารที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ไฟฟ้า #50 ถอดบัลลาสออกประหยัดไฟ18เปอร์เซ็น วัดด้วยมิเตอร์การไฟฟ้า ถ้าวัดVAไม่ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า
















ไฟฟ้า #50 ถอดบัลลาสออกประหยัดไฟ18เปอร์เซ็น วัดด้วยมิเตอร์การไฟฟ้า ถ้าวัดVAไม่ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า
7/7/2563 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

ทดสอบการกินไฟ ด้วย มิเตอร์การไฟฟ้า 5(15A)
หลอดLED T8 ยี่ห้อ FSL 9W นีออนสั้น

 ไม่ถอดบัลลาส
 ถอดบัลลาส
มิเตอร์หมุน1รอบ
 6นาที36วินาที
  8นาที3วินาที
Volt / Amp
233.3V / 52.3mA 
234.3V / 78mA

ไม่ถอดบัลลาสจ่ายค่าไฟเพิ่ม 22%
ถอดบัลลาสประหยัดไฟ 18%
เช่น ถ้าใส่บัลลาสจ่ายค่าไฟ 122บาท
แต่ถ้าถอดบัลลาสจ่ายค่าไฟ 100บาท
  คลิปที่ผมทำก่อนหน้านี้ บอกว่าใส่บัลลาสประหยัดไฟ ถือว่าผิดอย่างร้ายแรงครับ
ถ้าวัดไฟและกระแส ผลที่ได้คือ ไม่ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า

ถ้าวัดไฟและกระแส ผลที่ได้คือ ไม่ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า
ถ้าวัดด้วยมิเตอร์การไฟฟ้า ถอดบัลลาสประหยัดไฟกว่า

เพราะบัลลาสเป็นตัวเหนี่ยวนำ(L) 

ดังนั้นเมื่อมีกระแสไหลผ่านL ก็จะเกิดสนามแม่เหล็ก

ส่วนพลังงานที่สร้างสนามแม่เหล็ก โหลดไม่ได้นำไปใช้งาน

แต่เราต้องจ่ายค่าไฟในส่วนนี้ด้วย เรียกว่า Reactive Power(VAR)

ส่วนที่โหลดนำไปใช้งาน เรียกว่า Active Power(W)

Reactive Power + Active Power = Apparent Power(VA)

Reactive Power จะเป็นตัวทำให้ค่าPower Factor ไม่เท่ากับ 1


โหลด R, L และ C มีผลอย่างไรต่อค่า Power Factor
โหลดที่เราใช้ในระบบไฟฟ้ามีหลายประเภท
แต่ละประเภทจะส่งผลต่อระบบไฟฟ้าต่างกัน
สามารถจำแนกโหลดพื้นฐานเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้คือ
Load ประเภท Resistive (R), Inductive (L) และ Capacitive  (C)

1. โหลดความต้านทาน (Resistive Load, R)
โหลดความต้าน เช่น หลอดไฟฟ้าแบบไส้ เตารีดไฟฟ้า
หม้อหุงข้าว เครื่องทำน้ำอุ่น เป็นต้น
โหลดเหล่านี้จะทำให้ค่า Power Factor เท่ากับ 1
คือ กระแสและแรงดันมีมุมเฟสทางไฟฟ้าเดียวกัน
ทำให้ไม่มีการใช้พลังงานรีแอคทีฟและไม่เกิดการสูญเสียพลังงานในระบบ

2.โหลดตัวเหนี่ยวนำ (Inductive Load, L)
โหลดตัวเหนี่ยวนำเป็นโหลดที่ทำให้ค่า Power Factor ไม่เท่ากับ 1 เช่น
มอเตอร์ บัลลาสต์ของหลอดฟลูออเรสเซน เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น 
กระแสที่สร้างขึ้นจะล้าหลังแรงดัน 90 ° เสมอหรือเกิดมุมทางไฟฟ้าต่างกัน (Phase-Shifted) กระแสตามหลังแรงดัน 90 °
ซึ่งหลายคนจะรู้จักโหลดประเภทนี้เป็นแบบ Power Factor Lagging (ล้าหลัง)

3 โหลดตัวเก็บประจุ (Capacitive Load, C)
โหลดตัวเก็บประจุจะทำให้ค่า Power Factor ไม่เท่ากับ 1 เช่นกัน
ส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมจะเป็น Capacitor Bank
โหลด C กระแสที่สร้างขึ้นจะนำหน้าแรงดันอยู่ 90 ° เสมอ
หรือเกิดมุมทางไฟฟ้าต่างกัน (Phase-Shifted)
กระแสนำหน้าแรงดัน 90 °
ซึ่งหลายคนรู้จักโหลดประเภทนี้เป็นแบบ Power Factor Leading (นำหน้า)