วันศุกร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2564

ไฟฟ้า #119 เทคนิคจับสายไฟแล้วรู้ว่าสายไฟใช้ไฟเกินขนาดหรือไม่ ถ้า70องศาจับสายไฟได้นานแค่ไหน

 





     

 



 

ไฟฟ้า #119 เทคนิคจับสายไฟแล้วรู้ว่าสายไฟใช้ไฟเกินขนาดหรือไม่ ถ้า70องศาจับสายไฟได้นานแค่ไหน

22/4/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

 

สายไฟอ่อน VKF (IEC52) ขนาด2x0.5 sq.mm.

เป็นสายแบน ฉนวน2ชั้น ยี่ห้อANT    

สายไฟมี2เส้น สีฟ้ากับน้ำตาล แต่ละเส้น มีทองแดง16เส้น

เส้นผ่าศูนย์กลางทองแดงแต่ละเส้น 0.15mm.

เส้นผ่าศูนย์กลางฉนวนรวมทองแดงแต่ละเส้น 1.74mm.   

สายไฟ 100เมตร น้ำหนัก2.8กก. แต่ชั่งได้3.2กก.

ทนแรงดัน300/300V กระแสสูงสุด10A อุณหภูมิ70C

สายL 100m. = 4.3

สายN 100m. = 4.1

วัดอนุกรมได้8.4

วัดขนานLNได้2.0

 

ใช้งานกับเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไป ที่กินไฟ<7Amp เช่นพัดลม ทีวี

 

ทดสอบที่30% ของผู้ผลิตระบุ เช่นระบุ10A*0.3=3A

สายไฟ1เมตร ใช้หลอดไส้เป็นโหลด

19/4/2564 เริ่มทดสอบเวลา16.27 อุณหภูมิห้อง31C

นาที

ไฟ

ต้นทาง

VAC

ไฟ

ปลายทาง

VAC

Amp

องศา

C

ไฟ

ตกคร่อม

สายไฟ

VAC

0

235.2

234.7

3.22

31

0.5

5

234.8

234.4

3.22

33

0.4

25

233.3

232.9

3.20

34

0.4

1:35:00

231.7

231.3

3.18

34

0.4

ทดสอบที่70% ของผู้ผลิตระบุ เช่นระบุ10A*0.7=7A

สายไฟ1เมตร ใช้หลอดไส้เป็นโหลด

19/4/2564 เริ่มทดสอบเวลา18.15 อุณหภูมิห้อง32C

นาที

ไฟ

ต้นทาง

VAC

ไฟ

ปลายทาง

VAC

Amp

องศา

C

ไฟ

ตกคร่อม

VAC

0

231.0

230.1

7.18

32

0.9

5

230.6

229.8

7.16

42

0.8

1:00:00

228.0

227.1

7.09

43

0.9

 

ทดสอบที่100% ของผู้ผลิตระบุ เช่นระบุ10A*1=10A

สายไฟ1เมตร ใช้หลอดไส้เป็นโหลด

19/4/2564 เริ่มทดสอบเวลา19:21 อุณหภูมิห้อง32C

นาที

ไฟ

ต้นทาง

VAC

ไฟ

ปลายทาง

VAC

Amp

องศา

C

ไฟ

ตกคร่อม

VAC

0

227.0

225.9

10.48

36

1.1

1

226.8

225.6

10.47

41

1.2

2

227.6

226.4

10.47

46

1.2

4

227.6

226.4

10.48

50

1.2

5

227.7

226.5

10.48

52

1.2

6

227.5

226.3

10.48

54

1.2

10

227.3

226.0

10.48

55

1.3

25

227.4

226.1

10.47

56

1.3

35

227.7

226.5

10.48

55

1.2

   35

 

 

 

เพิ่มกระแส

11.40

 

 

37

227.2

225.8

11.37

57

1.4

38

227.2

225.9

11.37

58

ลองจับร้อนจัดแต่จับได้ไม่ต้องปล่อยมือ

1.3

43

228.2

226.8

11.40

เพิ่มเป็น12.32

59

1.4

44

227.8

226.3

12.32

60

1.5

45

227.7

226.3

12.32

61

1.4

50

228.1

226.6

12.35

เพิ่ม

13.27

64

1.5

51

227.5

225.8

13.24

65

1.7

54

227.5

225.9

13.24

67

1.6

57

227.2

225.6

13.23

69

1.6

59

227.2

225.6

เพิ่มกระแส

13.50

68

1.6

60

227.3

225.6

13.5

69

1.7

1:02:00

 

 

 

70

 

1:03:00

227.8

226.1

14.01

70

1.7

1:05:00

227.5

225.7

13.99

71

1.8

1:06:00

227.0

225.2

13.98

72

1.8

1:09:00

226.7

225.0

13.97

72

1.7

 

เทคนิคการจับสายไฟ

อุณหภูมิของคนปกติจะไม่เกิน37.5C

อุณหภูมิของคนเป็นไข้ต่ำจะต้องเกิน37.5C

อุณหภูมิของคนเป็นไข้ปานกลางจะต้องเกิน38.3C

อุณหภูมิของคนเป็นไข้สูงจะต้องเกิน39.4C

อุณหภูมิของคนเป็นไข้สูงมากจะต้องเกิน40.5C

 

สายไฟที่ใช้ในบ้านส่วนใหญ่จะทนอุณหภูมิสูงสุดที่70C

ส่วนสายที่ใช้ทดสอบในการจับคือสายVKFขนาด2*0.5sqmm. 10A

 

  ถ้าใช้กระแสที่30% จะอยู่ที่10A*0.3 =3A

อุณหภูมิสูงสุดของฉนวนสายไฟได้34C

เวลาจับจะเหมือนเราไปจับคนปกติไม่เป็นไข้

 

  ถ้าใช้กระแสที่70% จะอยู่ที่10A*0.7 =7A

อุณหภูมิสูงสุดของฉนวนสายไฟได้43C

เวลาจับจะเหมือนเราไปจับคนที่เป็นไข้สูงมาก

 

ถ้าใช้กระแสที่100% จะอยู่ที่10A*1 =10A

อุณหภูมิสูงสุดของฉนวนสายไฟได้55องศา

เวลาจับจะร้อนจัดแต่สามารถ อดทนจับอย่างต่อเนื่องได้

 

ถ้าใช้กระแสเกินเช่น140% จะอยู่ที่10A*1.4 =14A

อุณหภูมิสูงสุดของฉนวนสายไฟได้72องศา

เวลาจับจะร้อนจัดไม่สามารถจับต่อเนื่องได้

เช่น

70C จับได้นานสุด5วินาที

71C จับได้นานสุด4วินาที

72C จับได้นานสุด3วินาที

แต่ถ้าเป็นนิ้วมือของคนทำงานหนักหรือนิ้วมือด้านอาจจับได้นานกว่านี้

 

ถ้าสายไฟควันขึ้นหรือมีกลิ่นไหม้ห้ามจับเด็ดขาด ให้ปิดไฟทันที

 

สรุปสายไฟไม่ควรใช้ไฟเกิน70%ของผู้ผลิตระบุ

ก็คือเวลาจับจะเหมือนเราไปจับคนที่เป็นไข้สูงมากนั่นเอง

 

23:38 สรุปเทคนิคจับสายไฟ


ไม่มีความคิดเห็น: