วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

ไฟฟ้า #124 ไฟรั่วแล้วไปไหน 1ไปสายนิวทรอวและสายดิน 2ไปสายนิวทรอวอย่างเดียว คลิปนี้มีคำตอบไม่ต้องเถียงกัน

 




RCBO https://shp.ee/gem8h8q



ไฟฟ้า #124 ไฟรั่วแล้วไปไหน 1ไปสายนิวทรอวและสายดิน 2ไปสายนิวทรอวอย่างเดียว คลิปนี้มีคำตอบไม่ต้องเถียงกัน

27/5/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

 

 

วันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

ไฟฟ้า #123 ตัวกันดูด 15mAกับ30mA เลือกแบบไหนดี ตัดเกิน30mA อันตรายไหม การเอาตัวรอดจากไฟดูด

 





RCBO https://shp.ee/wv36gwf


ไฟฟ้า #123 ตัวกันดูด 15mAกับ30mA เลือกแบบไหนดี ตัดเกิน30mA อันตรายไหม การเอาตัวรอดจากไฟดูด

24/5/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

 

PEAK  x0.707 = RMS

15mA x0.707  =  10.605mA

30mA x0.707 =  21.21mA

 

RCCB (Residual Current Circuit Breakers)

RCBO (Residual Current Circuit Breakers with Overload protection)

 

มอก.2425-2552 หรือ IEC61008-1 = RCCB (ตัดไฟดูดไฟรั่วอย่างเดียว)

มอก.909-2548 หรือ IEC61009-1 = RCBO (ตัดครบ ไฟดูดไฟรั่ว

ไฟเกินและลัดวงจร)

 

การทดสอบนี้เป็นการทดสอบELCB อย่างละ1ตัวเท่านั้น

และมิเตอร์ผมใช้ET8101ในการวัด ซึ่งก็มีค่าความผิดพลาดอยู่เล็กน้อย

สาเหตุที่ทางผู้ผลิตทำพอดีหรือเกินนิดหน่อย

เพื่อต้องการไม่ให้ตัดง่ายจนเกินไป

เช่นถ้าคุมเครื่องซักผ้าหลายเครื่อง รั่วเครื่องละนิด

รวมกันก็จะทำให้ตัดง่ายหรือตัดบ่อย

จนผู้ใช้อาจรำคาญจนเลิกใช้

และเมื่อเลิกใช้ก็กลับกลายเป็นอันตรายมากกว่าครับ

 

 

ชนิด

Trip

mA

>21.21

mA

>22

mA

BEWON

15mA

RCBO

8.54

< 

< 

KYOKUTO

KD-L223SC

15mA

RCCB

10.45

< 

< 

CCS

CM6L-32

15mA

 

RCBO

13.40

< 

< 

HITEK

HCMME38030

30mA

RCBO

11.64

< 

< 

NPV

114L

30mA

RCBO

20.45

< 

< 

HACO

SB-E16L

30mA

RCBO

21.23

> 

< 

PANASONIC

BJS3030NYT

30mA

RCCB

22.39

> 

> 

SHIHLIN

BL-BF

30mA

RCCB

22.70

> 

> 

CT

30mA

RCBO

23.18

> 

> 

ZEBERG

CB-03

30mA

RCBO

26.53

> 

> 

 

ยี่ห้อที่ไขน็อตแล้วแผ่นล็อคสายไม่ขึ้นตามมียี่ห้อเดียวคือ PANASONIC

 

 

 


วันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

ไฟฟ้า #122 DIY เครื่องทดสอบตัวกันดูดทุกชนิด ตัดเกินที่ระบุหรือไม่ ถ้าเกินอาจเกิดอันตรายจากไฟดูด





RCBO https://shp.ee/gem8h8q



ไฟฟ้า #122 DIY เครื่องทดสอบตัวกันดูดทุกชนิด ตัดเกินที่ระบุหรือไม่ ถ้าเกินอาจเกิดอันตรายจากไฟดูด

17/5/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

 

เครื่องทดสอบตัวกันดูดทุกชนิด ตัดเกินที่ระบุหรือไม่

ถ้าเกินอาจเกิดอันตรายจากไฟดูด

ค่ากระแสไฟดูดที่เราสามารถปล่อยมือออกได้ทันคือ30mA Peak

= 30*0.707 =21.21mA RMS(วัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอว)

มีบทความบอกว่า ถ้ากระแสที่มากกว่า22mA

ในผู้ใหญ่99% จะปล่อยมือไม่ทัน

 

 

 

 

 

 

 

 

Source

VAC

R100W

6.8K

VAC

VR2W

100K

VAC

mA

R100W

6.8K

Watt

 

VR2W

100K

Watt

 

 

236.1

 14.90

220.9

2.19

0.032

0.483

 

235.1

20.02

215.1

2.90

0.058

0.623

 

234.9

30.09

205.3

4.43

0.136

0.909

 

234.7

40.09

194.3

5.90

0.236

1.146

 

235.6

51.90

183.2

7.68

0.398

1.406

 

234.8

61.40

173.4

9.06

0.556

1.571

 

234.5

70.50

163.7

10.40

0.733

1.702

 

235.0

100.1

134.3

14.74

1.475

1.979

 

235.2

109.9

124.3

16.22

1.782

2.016

 

235.3

110.1

124.4

16.22

1.785

2.017

 

234.8

118.8

115.1

17.57

2.087

2.022

*

235.4

119.3

115.0

17.57

2.096

2.020

 

235.0

129.8

104.4

19.17

2.488

2.001

 

234.8

159.4

74.90

23.52

3.749

1.761

 

235.4

194.8

39.45

28.69

5.588

1.131

 

235.3

228.9

5.18

33.73

7.720

0.174

 

235.5

232.9

1.40

34.34

7.997

0.048

*

 

R100W 6.8K วัทสูงสุดที่ 7.997W ที่34.34mA ไฟทดสอบ235.5V

ทดสอบ1ชมกว่าได้อุณหภูมิสูงสุด 123C

 

VR2W  100K วัทสูงสุด 2.022W ที่17.57mA ไฟทดสอบ234.8V

ทดสอบ1ชมกว่าได้อุณหภูมิสูงสุด 73C

 

  ถ้าไฟทดสอบ 236.1V ปรับซ้ายสุด

ไฟรั่วผ่านเครื่องทดสอบต่ำสุด 2.19mA

  ถ้าไฟทดสอบ 235.5V ปรับขวาสุด

ไฟรั่วผ่านเครื่องทดสอบสูงสุด 34.34mA

 

34.34mA RMS จะเท่ากับ

34.34*1.414 = 48.56mA Peak

 

ถ้าVไฟทดสอบมากกว่าก็จะได้วัทมากกว่า

ถ้าVไฟทดสอบน้อยกว่าก็จะได้วัทน้อยกว่า

 

ส่วนตอนหน้าจะมีวิธีเอาตัวรอดจากไฟดูดติดครับ

 

////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

ตัวกันดูด แบบไหนตัดมือถือรั่วได้ ในระยะปลอดภัย

18/6/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE

 

ET8102 (LED) ที่ใช้VACในคลิปนี้ จะมากกว่าFLUKE115 ประมาณ0.5VAC

 

ถ้าวัดไฟDC หรือกระแสDC ผ่านบริดหรือไดโอด

ET8102 การวัดจะแม่นยำ

แต่ถ้าวัดไฟAC หรือกระแสAC ผ่านบริดหรือไดโอด 

ET8102 วัดเพี้ยน ค่าที่ได้ห่างจากFLUKE115 มาก

 

ตัวกันดูดที่ใช้กับทีชาร์จมือถือ

หรือตัวแปลงอแดปเตอร์ ต้องผ่านบริดไดโอดแปลงไฟเป็นDC

ดังนั้นจะต้องใช้กระแสมากกว่าจึงจะสามารถทำให้ตัวกันดูดตัดได้

ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้ตัวกันดูดที่ตัดไฟรั่วที่15mAเท่านั้น

ถ้า30mA จะมีบางครั้งไม่ตัด แต่ถ้ากระแสไหลผ่านคนมากก็ตัดได้

แต่ก็เป็นกระแสที่รุนแรงมากก็คือกระแสเลยขั้นผิวไหม้ไปแล้ว

แต่ถ้ากระแสรั่วหรือไหลผ่านร่างกายคนมากกว่าค่าที่จะตัด

ตัวกันดูด30mAก็จะตัดได้ภายใน0.1วินาที

ดังนั้นผิวหนังก็จะไม่ไหม้

  สรุปใช้15mA ปลอดภัยกว่า

เพราะมันจะตัดที่กระแสไม่ถึงจุดที่ผิวหนังจะไหม้

แต่ในขณะหลับแล้วไฟรั่วมาดูดที่กระแสไม่ถึงจุดที่จะตัด

ก็สามารถทำให้เสียชีวิตได้

เพราะขณะหลับ ร่างกายจะเปรียบเหมือนคนเป็นอัมพาฒ

ถึงแม้กระแสไม่มากแต่ถ้าไหลผ่านหัวใจเป็นเวลานาน

ก็ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะได้ และทำให้เสียชีวิตได้ในที่สุด

  ทดสอบด้วยคนจำลองในคลิปไฟฟ้า#122 DIY

ใช้R2ตัวต่ออนุกรม คือ 6.8K(100w) กับ VR100K(2w)

จำลองกระแสไหลผ่านตัวคนได้สูงสุด34.34mA

34.34*1.414 = 48.55mApeak ค่าพีคก็คือค่าที่ระบุไว้ที่ตัวกันดูด

วัดด้วยมิเตอร์ ET8102 (LED)

15mA = Bewon กับKyokuto ตัดได้ที่ย่านปลอดภัย

แต่Kyokutoดีกว่าคือตัดได้ใกล้เคียงกันทั้งซีกบวกและซีกลบ

ส่วนBewonตัดซีก+ไวกว่าKyokuto แต่ซีก-ตัดช้ากว่าKyokutoเยอะมาก

ถ้าไฟรั่วจากCที่คร่อมกราวร้อนและเย็นจะอันตรายกว่าKyokuto

30mA =ตัดที่ย่านผิวไหม้ แต่ถ้ากระแสรั่วผ่านร่างกายมากก็ตัดได้เหมือนกัน

 

ผ่านไดโอด 4007 Half Wave ผ่านไดโอดตัวเดียว

ความต้านทานVR100K ยิ่งต่ำยิ่งอันตราย

 

ตัดกระแสAC

ตัดกระแส

DC +

Half wave

ตัดกระแส

DC

Half wave

 

 

Bewon

BW-30

15mA

8.56mA

20.11K

(VR100K)

7.13mAac

+5.85mAdc

10.84K

(VR100K)

11.62mAac

-9.6mAdc 4.04K

(VR100K)

 

 

Kyokuto

15mA

10.54mA

15.29K

(VR100K)

8.70mAac

+7.19mAdc 7.76K

(VR100K)

8.54mAac

-7.06mAdc 8.04K

(VR100K)

 

 

Panasonic

30mA

22.27mA

3.67K

(VR100K)

ไม่ตัด

18.68mAac

+15.42mAdc 36.5

(VR100K)

18.58mAac

-15.1mAdc 57

(VR100K)

***

DC+

ไม่ตัด

กระโชกก็ไม่ตัด

DC- ตัด

ไม่กระโชกก็ตัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผ่านบริดไดโอด Full wave วัดด้วยET8102

Kyokuto กับPanasonic ถ้าผ่านบริดไดโอด ล็อคค่าDC Max ไม่ได้

แต่Bewon ล็อคค่าDC Max ได้

 

ตัดกระแสAC

ตัดกระแส

DC +

Full wave

ตัดกระแส

DC

Full wave

 

 

 

Bewon

15mA

รุ่น BW-30

8.56mA

20.11K

(VR100K)

7.11mAac

+5.89mAdc

10.77K

(VR100K)

11.66mAac

-9.69mAdc

3.86K

(VR100K)

 

 

 

Kyokuto

15mA

 รุ่น

KDL-223SC

10.54mA

15.29K

(VR100K)

8.67mAac

+7.14mAdc

7.67K

(VR100K)

8.53mAac

-7.01mAdc

7.89K

(VR100K)

 

 

 

Panasonic

30mA

รุ่น

BJS3030NYT

22.27mA

3.67K

(VR100K)

ไม่ตัด

18.65mAac

+15.39mAdc

48.2

(VR100K)

ไม่ตัด18.59mAac

-15.5mAdc

48.2

(VR100K)

***

DC+

ปรับค่อยๆสุดแล้วไม่ตัด กระโชกก็ไม่ตัด

DC-

ปรับค่อยๆสุดแล้วไม่ตัด

แต่กระโชกตัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1/0.707=1.414427157001414

วัดคนจำลอง 6.8k อนุกรม VR100K

วัดเฉพาะ VR100K ก็น่าจะรู้ค่าความต้านทานเท่าไรปลอดภัยสุด

ค่าความต้านทานเท่าไรทำให้คนผิวไหม้ ทีVทดสอบประมาณ 232V

กระแสเริ่มต้นที่ทำให้ผิวคนไหม้ได้คือ

กระแสไหลผ่าน30mA ที่เวลาตั้งแต่10วิขึ้นไป

231.6V =21.31mAac =4.01K (VR100K)

232.0V =22.01mAac =3.7K   (VR100K)(>22mAปล่อยมือไม่ทัน)

 

V

 

mA

 

mA

(peak)

ถ้ามีการระบุ

ที่ตัวกันดูด

VR100K

 

 

 

 

235.3

10.63

15.03

15.22k

 

 

 

 

231.6

21.31

30.13

4.01k

 

 

 

 

235.3

21.22

30.01

4.25k

 

 

 

 

232.0

22.01

31.12

3.7k  

 

 

 

 

235.3

22.16

>22

ในผู้ใหญ่99%

ปล่อยมือไม่ทัน

31.33

3.79k

 

 

 

 

235.0

30.00

เริ่ม

เข้าสู่โซนสีแดง

ผิวไหม้

ตั้งแต่

10วิ

ขึ้นไป

42.42

1.01k

 

 

 

 

235.5

30.05

42.49

1.01k

 

 

 

 

235.7

30.08

42.53

1.01k

 

 

 

 

 

 

ผ่านไดโอด4007 ตัวเดียว วัดด้วยET8102

Kyokuto

ซีก+

ซีก-

 

ก่อนเข้าELCB

10.04mAac

ตัดขึ้น20.43mAac

9.8mAac

ตัดขึ้น17.48mAac

 

หลังELCB

8.73 mAac

8.52 mAac

 

ผ่าน4007

8.65 mAac

8.50 mAac

 

 

 

 

 

 

ไฟ236VAC ผ่านหลอดไส้5W ผ่านDiode 4007 ตัวเดียว

จับตรงแก้วหลอดไส้5W จับได้อุ่นไม่ร้อน

ไฟวูบๆตลอดสว่างน้อยกว่าFULL WAVEครึ่งหนึ่ง เพราะเป็นฮาฟเวฟ

 

ซีก+

ซีก-

วัดไฟคร่อมหลอดผ่านD+แล้ว

 

ต้นELCB

31.71mAac

31.71mAac

 

 

ปลายELCB

ผ่านDiode

ตัวเดียว

30.46mAac

30.46mAac

กลับขั้ว49.2VAC

ถูกขั้ว128.2VAC

กลับขั้ว-106Vdc

ถูกขั้ว+106Vdc

 

 

 

 

 

 

 

 

ไฟ236VAC ผ่านหลอดไส้5W ผ่านBridge Diode จับตรงแก้วหลอด5W จับได้แต่อุ่นไปทางร้อน ส่วนขั้วเหล็กร้อนกว่า สว่างกว่าฮาฟเวฟ1เท่า

 

ซีก+

ซีก-

วัดไฟคร่อมหลอดหรือ+-Bridge

 

ต้นELCB

50.52mAac

50.52mAac

 

 

ปลายELCB

ผ่านBridge Diode+

 

21.63mAac

Fluke53 mAac

-44.32mAdc

Fluke44mAdc

30.46mAac

ET8102

กลับขั้ว24.7VAC

ถูกขั้ว44VAC

(กลับขั้ว-211Vdc

ถูกขั้ว+211Vdc)

 

Fluke

กลับหรือถูกขั้ว

102VAC

(211Vdc)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ไฟ236VAC ผ่านหลอดไส้5W ต่อตรงไม่ผ่าน Diode

จับตรงแก้วหลอด5W จับได้แต่อุ่นไปทางร้อน ส่วนขั้วเหล็กร้อนกว่า

แสงสว่างและความร้อนพอๆกับผ่านบริดไดโอด

แต่ถ้าผ่านไดโอดตัวเดียวแสงสว่างกับความร้อนจะลดลงกว่าบริดไดโอด1เท่า

ต่อตรง236VAC ต่อผ่านบริดไดโอด211VDC สว่างมองแล้วพอกัน

Kyokuto

 

วัดไฟคร่อม

หลอดไส้ 5W

 

ต้นELCB

50.33mAac

236VAC

 

ปลายELCB

 

48.81mAac

 

236VAC

 

 

 

 

 

 

 

วัดแรงดันตกคร่อมบริดไดโอด 235VAC กระแสต้นทาง50mAac

FLUKEกับET8102วัดได้เท่ากัน

ตารางการวัดค่าผ่านบริดไดโอด N+ = วัดNคร่อม+ของบริดไดโอด

Kyokuto

FLUKE115

ET8102

 

N+ ถูกขั้ว

127.3 VAC

127.1 VAC

 

N+ กลับขั้ว

127.3 VAC

49.5 VAC

 

N- ถูกขั้ว

127.4 VAC

127.1 VAC

 

N- กลับขั้ว

127.4 VAC

49.5 VAC

 

L+ ถูกขั้ว

127.9 VAC

127.4 VAC

 

L+ กลับขั้ว

127.9 VAC

49.5 VAC

 

L- ถูกขั้ว

127.7 VAC

127.4 VAC

 

L- กลับขั้ว

127.7 VAC

49.5 VAC

 

N+

ถูกขั้ว=กลับขั้ว

105.4 VDC

105.5 VDC

 

N-

ถูกขั้ว=กลับขั้ว

105.4 VDC

105.5 VDC

 

L+

ถูกขั้ว=กลับขั้ว

105.4 VDC

105.5 VDC

 

L-

ถูกขั้ว=กลับขั้ว

105.4 VDC

105.5 VDC

 

 

วัดไดโอด4007 ตัวเดียว ฮาฟบริด 

กระแสก่อนเข้าELCB วัดด้วย

FLUKE115 =44mAac(25mAdc)

ET8102=31mAac(25mAdc)

Kyokuto

วัดคร่อมไดโอด

4007

ต่อหลังขั้วL

ขั้วNต่อตรง

FLUKE115

ET8102

วัด2รอบไม่ผิด

แรงดันตกคร่อม

4007ไม่ใช่0.5

แต่เป็น105VDC

(127VAC)

ลองให้ผ่าน

4007 กลับขั้ว

ก็ได้เท่ากัน

ถูกขั้ว

-104.8 VDC

-105 VDC

 

กลับขั้ว

+104.8 VDC

+105 VDC

 

ถูกขั้ว

127 VAC

49.5 VAC

 

กลับขั้ว

127 VAC

127.6 VAC

 

ผ่านไดโอดแล้ว

36 mAac

25 mAdc

30.14 mAac

25 mAdc

 

วัดแรงดันตกคร่อมหลอด

ต้นและท้ายELCB

232 VAC

วัดDC OLกระพริบ

232.5 VAC

18 VDCกระพริบ

 

วัดแรงดันตกคร่อมหลอด

หลังผ่าน4007

125.3 VAC

104.1 VDC

ถูกขั้ว49.28VAC

กลับขั้ว126.3VAC

105.0 VDC

 

 

 

 

 

 

กระแสผ่าน4007 2ตัว ต่อมัดรวมกันทั้ง2ด้านของ4007 แต่กลับหัวตัวหนึ่ง

4007 2ตัวต่อเข้าขั้วL ขั้วปลาย ELCB

Nต่อตรงกับหลอดไส้5W

Kyokuto

 

FLUKE115

ET8102

 

กระแสก่อนและหลังเข้าELCB

50mAac

(0mAdc)

50.42mAac

(ขึ้น+- 0.3-0.1 mAdcกระพริบ)

กลับสายวัดได้เท่ากัน

กระแสผ่าน4007*2

49 mAac

(0mAdc)

48.81 mAac

(ขึ้น+- 0.2-0.1 mAdcกระพริบ)

กลับสายวัดได้เท่ากัน

Vก่อนเข้าELCB

234.5 VAC

(VDCขึ้นOLกระพริบ)

234.3 VAC

(+21VDC กระพริบ)

กลับสายวัดได้เท่ากัน

Vหลังเข้าELCB

233.8 VAC

(VDCขึ้นOLกระพริบ)

233.7 VAC

(+21VDC กระพริบ)

กลับสายวัดได้เท่ากัน

วัดคร่อม4007*2

0.73 VAC

(0 VDCกระพริบ)

0.73 VAC

(0.002VDCกระพริบ)

กลับสายวัดได้เท่ากัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Bewon ถ้าใช้ไฟAC ลองสลับขั้วLN ก็วัดได้ค่าเท่ากัน

แต่ถ้าผ่านไดโอดซีก+ กับซีก- จะได้ค่าต่างกันชัดเจน

 

วัดกระแสด้วยET8102 (LED) และ ET8101

ถ้าวัดกระแสDC max เมื่อผ่านไดโอดตัวเดียว

BEWON Kyokuto กับPANASINIC ลอคกระแสMAXได้ทุกตัว

 

ถ้าวัดกระแสDC max เมื่อผ่านบริดไดโอด คือผ่านไดโอด2ตัว

BEWONลอคกระแสMAXได้

Kyokuto กับPANASINIC ลอคกระแสMAXไม่ได้