ไฟฟ้า #122 DIY
เครื่องทดสอบตัวกันดูดทุกชนิด ตัดเกินที่ระบุหรือไม่ ถ้าเกินอาจเกิดอันตรายจากไฟดูด
17/5/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
เครื่องทดสอบตัวกันดูดทุกชนิด ตัดเกินที่ระบุหรือไม่
ถ้าเกินอาจเกิดอันตรายจากไฟดูด
ค่ากระแสไฟดูดที่เราสามารถปล่อยมือออกได้ทันคือ30mA
Peak
= 30*0.707 =21.21mA RMS(วัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอว)
มีบทความบอกว่า ถ้ากระแสที่มากกว่า22mA
ในผู้ใหญ่99% จะปล่อยมือไม่ทัน
|
|
|
|
|
|
|
Source VAC |
R100W 6.8K VAC |
VR2W 100K VAC |
mA |
R100W 6.8K Watt |
VR2W 100K Watt |
|
236.1 |
14.90 |
220.9 |
2.19 |
0.032 |
0.483 |
|
235.1 |
20.02 |
215.1 |
2.90 |
0.058 |
0.623 |
|
234.9 |
30.09 |
205.3 |
4.43 |
0.136 |
0.909 |
|
234.7 |
40.09 |
194.3 |
5.90 |
0.236 |
1.146 |
|
235.6 |
51.90 |
183.2 |
7.68 |
0.398 |
1.406 |
|
234.8 |
61.40 |
173.4 |
9.06 |
0.556 |
1.571 |
|
234.5 |
70.50 |
163.7 |
10.40 |
0.733 |
1.702 |
|
235.0 |
100.1 |
134.3 |
14.74 |
1.475 |
1.979 |
|
235.2 |
109.9 |
124.3 |
16.22 |
1.782 |
2.016 |
|
235.3 |
110.1 |
124.4 |
16.22 |
1.785 |
2.017 |
|
234.8 |
118.8 |
115.1 |
17.57 |
2.087 |
2.022 |
* |
235.4 |
119.3 |
115.0 |
17.57 |
2.096 |
2.020 |
|
235.0 |
129.8 |
104.4 |
19.17 |
2.488 |
2.001 |
|
234.8 |
159.4 |
74.90 |
23.52 |
3.749 |
1.761 |
|
235.4 |
194.8 |
39.45 |
28.69 |
5.588 |
1.131 |
|
235.3 |
228.9 |
5.18 |
33.73 |
7.720 |
0.174 |
|
235.5 |
232.9 |
1.40 |
34.34 |
7.997 |
0.048 |
* |
R100W 6.8K วัทสูงสุดที่ 7.997W ที่34.34mA ไฟทดสอบ235.5V
ทดสอบ1ชมกว่าได้อุณหภูมิสูงสุด 123C
VR2W 100K วัทสูงสุด 2.022W ที่17.57mA ไฟทดสอบ234.8V
ทดสอบ1ชมกว่าได้อุณหภูมิสูงสุด 73C
ถ้าไฟทดสอบ
236.1V ปรับซ้ายสุด
ไฟรั่วผ่านเครื่องทดสอบต่ำสุด 2.19mA
ถ้าไฟทดสอบ
235.5V ปรับขวาสุด
ไฟรั่วผ่านเครื่องทดสอบสูงสุด
34.34mA
34.34mA RMS จะเท่ากับ
34.34*1.414 = 48.56mA Peak
ถ้าVไฟทดสอบมากกว่าก็จะได้วัทมากกว่า
ถ้าVไฟทดสอบน้อยกว่าก็จะได้วัทน้อยกว่า
ส่วนตอนหน้าจะมีวิธีเอาตัวรอดจากไฟดูดติดครับ
ตัวกันดูด แบบไหนตัดมือถือรั่วได้ ในระยะปลอดภัย
18/6/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
ET8102 (LED) ที่ใช้VACในคลิปนี้ จะมากกว่าFLUKE115 ประมาณ0.5VAC
ถ้าวัดไฟDC หรือกระแสDC
ผ่านบริดหรือไดโอด
ET8102 การวัดจะแม่นยำ
แต่ถ้าวัดไฟAC
หรือกระแสAC ผ่านบริดหรือไดโอด
ET8102 วัดเพี้ยน ค่าที่ได้ห่างจากFLUKE115
มาก
ตัวกันดูดที่ใช้กับทีชาร์จมือถือ
หรือตัวแปลงอแดปเตอร์ ต้องผ่านบริดไดโอดแปลงไฟเป็นDC
ดังนั้นจะต้องใช้กระแสมากกว่าจึงจะสามารถทำให้ตัวกันดูดตัดได้
ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้ตัวกันดูดที่ตัดไฟรั่วที่15mAเท่านั้น
ถ้า30mA จะมีบางครั้งไม่ตัด
แต่ถ้ากระแสไหลผ่านคนมากก็ตัดได้
แต่ก็เป็นกระแสที่รุนแรงมากก็คือกระแสเลยขั้นผิวไหม้ไปแล้ว
แต่ถ้ากระแสรั่วหรือไหลผ่านร่างกายคนมากกว่าค่าที่จะตัด
ตัวกันดูด30mAก็จะตัดได้ภายใน0.1วินาที
ดังนั้นผิวหนังก็จะไม่ไหม้
สรุปใช้15mA ปลอดภัยกว่า
เพราะมันจะตัดที่กระแสไม่ถึงจุดที่ผิวหนังจะไหม้
แต่ในขณะหลับแล้วไฟรั่วมาดูดที่กระแสไม่ถึงจุดที่จะตัด
ก็สามารถทำให้เสียชีวิตได้
เพราะขณะหลับ
ร่างกายจะเปรียบเหมือนคนเป็นอัมพาฒ
ถึงแม้กระแสไม่มากแต่ถ้าไหลผ่านหัวใจเป็นเวลานาน
ก็ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะได้
และทำให้เสียชีวิตได้ในที่สุด
ทดสอบด้วยคนจำลองในคลิปไฟฟ้า#122 DIY
ใช้R2ตัวต่ออนุกรม
คือ 6.8K(100w) กับ VR100K(2w)
จำลองกระแสไหลผ่านตัวคนได้สูงสุด34.34mA
34.34*1.414 = 48.55mApeak ค่าพีคก็คือค่าที่ระบุไว้ที่ตัวกันดูด
วัดด้วยมิเตอร์ ET8102
(LED)
15mA = Bewon กับKyokuto ตัดได้ที่ย่านปลอดภัย
แต่Kyokutoดีกว่าคือตัดได้ใกล้เคียงกันทั้งซีกบวกและซีกลบ
ส่วนBewonตัดซีก+ไวกว่าKyokuto
แต่ซีก-ตัดช้ากว่าKyokutoเยอะมาก
ถ้าไฟรั่วจากCที่คร่อมกราวร้อนและเย็นจะอันตรายกว่าKyokuto
30mA =ตัดที่ย่านผิวไหม้
แต่ถ้ากระแสรั่วผ่านร่างกายมากก็ตัดได้เหมือนกัน
ผ่านไดโอด 4007 Half
Wave ผ่านไดโอดตัวเดียว
ความต้านทานVR100K
ยิ่งต่ำยิ่งอันตราย
|
ตัดกระแสAC |
ตัดกระแส DC + Half
wave |
ตัดกระแส DC – Half
wave |
|
|
Bewon BW-30 15mA |
8.56mA 20.11K (VR100K) |
7.13mAac +5.85mAdc 10.84K (VR100K) |
11.62mAac -9.6mAdc
4.04K (VR100K) |
|
|
Kyokuto 15mA |
10.54mA 15.29K (VR100K) |
8.70mAac +7.19mAdc
7.76K (VR100K) |
8.54mAac -7.06mAdc
8.04K (VR100K) |
|
|
Panasonic 30mA |
22.27mA 3.67K (VR100K) |
ไม่ตัด 18.68mAac +15.42mAdc
36.5Ω (VR100K) |
18.58mAac -15.1mAdc
57Ω (VR100K) |
*** DC+ ไม่ตัด กระโชกก็ไม่ตัด DC- ตัด ไม่กระโชกก็ตัด |
|
|
|
|
|
|
|
ผ่านบริดไดโอด Full wave วัดด้วยET8102
Kyokuto กับPanasonic ถ้าผ่านบริดไดโอด
ล็อคค่าDC Max ไม่ได้
แต่Bewon ล็อคค่าDC Max ได้
|
ตัดกระแสAC |
ตัดกระแส DC + Full
wave |
ตัดกระแส DC – Full
wave |
|
|
|
Bewon 15mA รุ่น BW-30 |
8.56mA 20.11K (VR100K) |
7.11mAac +5.89mAdc 10.77K (VR100K) |
11.66mAac -9.69mAdc 3.86K (VR100K) |
|
|
|
Kyokuto 15mA รุ่น KDL-223SC |
10.54mA 15.29K (VR100K) |
8.67mAac +7.14mAdc 7.67K (VR100K) |
8.53mAac -7.01mAdc 7.89K (VR100K) |
|
|
|
Panasonic 30mA รุ่น BJS3030NYT |
22.27mA 3.67K (VR100K) |
ไม่ตัด 18.65mAac +15.39mAdc 48.2Ω (VR100K) |
ไม่ตัด18.59mAac -15.5mAdc 48.2Ω (VR100K) |
*** DC+ ปรับค่อยๆสุดแล้วไม่ตัด
กระโชกก็ไม่ตัด DC- ปรับค่อยๆสุดแล้วไม่ตัด
แต่กระโชกตัด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1/0.707=1.414427157001414
วัดคนจำลอง 6.8k อนุกรม
VR100K
วัดเฉพาะ VR100K ก็น่าจะรู้ค่าความต้านทานเท่าไรปลอดภัยสุด
ค่าความต้านทานเท่าไรทำให้คนผิวไหม้ ทีVทดสอบประมาณ 232V
กระแสเริ่มต้นที่ทำให้ผิวคนไหม้ได้คือ
กระแสไหลผ่าน30mA ที่เวลาตั้งแต่10วิขึ้นไป
231.6V =21.31mAac =4.01KΩ
(VR100K)
232.0V =22.01mAac =3.7KΩ (VR100K)(>22mAปล่อยมือไม่ทัน)
V |
mA |
mA (peak) ถ้ามีการระบุ ที่ตัวกันดูด |
VR100K |
|
|
|
|
235.3 |
10.63 |
15.03 |
15.22k |
|
|
|
|
231.6 |
21.31 |
30.13 |
4.01k |
|
|
|
|
235.3 |
21.22 |
30.01 |
4.25k |
|
|
|
|
232.0 |
22.01 |
31.12 |
3.7k |
|
|
|
|
235.3 |
22.16 >22 ในผู้ใหญ่99% ปล่อยมือไม่ทัน |
31.33 |
3.79k |
|
|
|
|
235.0 |
30.00 เริ่ม เข้าสู่โซนสีแดง ผิวไหม้ ตั้งแต่ 10วิ ขึ้นไป |
42.42 |
1.01k |
|
|
|
|
235.5 |
30.05 |
42.49 |
1.01k |
|
|
|
|
235.7 |
30.08 |
42.53 |
1.01k |
|
|
|
|
ผ่านไดโอด4007 ตัวเดียว วัดด้วยET8102
Kyokuto |
ซีก+ |
ซีก- |
|
ก่อนเข้าELCB |
10.04mAac ตัดขึ้น20.43mAac |
9.8mAac ตัดขึ้น17.48mAac |
|
หลังELCB |
8.73
mAac |
8.52
mAac |
|
ผ่าน4007 |
8.65
mAac |
8.50
mAac |
|
|
|
|
|
ไฟ236VAC ผ่านหลอดไส้5W
ผ่านDiode 4007 ตัวเดียว
จับตรงแก้วหลอดไส้5W จับได้อุ่นไม่ร้อน
ไฟวูบๆตลอดสว่างน้อยกว่าFULL
WAVEครึ่งหนึ่ง เพราะเป็นฮาฟเวฟ
|
ซีก+ |
ซีก- |
วัดไฟคร่อมหลอดผ่านD+แล้ว |
|
ต้นELCB |
31.71mAac |
31.71mAac |
|
|
ปลายELCB ผ่านDiode ตัวเดียว |
30.46mAac |
30.46mAac |
กลับขั้ว49.2VAC ถูกขั้ว128.2VAC กลับขั้ว-106Vdc ถูกขั้ว+106Vdc |
|
|
|
|
|
|
ไฟ236VAC ผ่านหลอดไส้5W
ผ่านBridge Diode จับตรงแก้วหลอด5W จับได้แต่อุ่นไปทางร้อน ส่วนขั้วเหล็กร้อนกว่า สว่างกว่าฮาฟเวฟ1เท่า
|
ซีก+ |
ซีก- |
วัดไฟคร่อมหลอดหรือ+-Bridge |
|
ต้นELCB |
50.52mAac |
50.52mAac |
|
|
ปลายELCB ผ่านBridge Diode+ |
21.63mAac Fluke53
mAac -44.32mAdc Fluke44mAdc |
30.46mAac |
ET8102 กลับขั้ว24.7VAC ถูกขั้ว44VAC (กลับขั้ว-211Vdc ถูกขั้ว+211Vdc) Fluke กลับหรือถูกขั้ว 102VAC (211Vdc) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ไฟ236VAC ผ่านหลอดไส้5W
ต่อตรงไม่ผ่าน Diode
จับตรงแก้วหลอด5W จับได้แต่อุ่นไปทางร้อน ส่วนขั้วเหล็กร้อนกว่า
แสงสว่างและความร้อนพอๆกับผ่านบริดไดโอด
แต่ถ้าผ่านไดโอดตัวเดียวแสงสว่างกับความร้อนจะลดลงกว่าบริดไดโอด1เท่า
ต่อตรง236VAC ต่อผ่านบริดไดโอด211VDC
สว่างมองแล้วพอกัน
Kyokuto |
|
วัดไฟคร่อม หลอดไส้
5W |
|
ต้นELCB |
50.33mAac |
236VAC |
|
ปลายELCB |
48.81mAac |
236VAC |
|
|
|
|
|
วัดแรงดันตกคร่อมบริดไดโอด 235VAC
กระแสต้นทาง50mAac
FLUKEกับET8102วัดได้เท่ากัน
ตารางการวัดค่าผ่านบริดไดโอด N+
= วัดNคร่อม+ของบริดไดโอด
Kyokuto |
FLUKE115 |
ET8102 |
|
N+ ถูกขั้ว |
127.3 VAC |
127.1 VAC |
|
N+ กลับขั้ว |
127.3 VAC |
49.5
VAC |
|
N- ถูกขั้ว |
127.4 VAC |
127.1
VAC |
|
N- กลับขั้ว |
127.4 VAC |
49.5
VAC |
|
L+ ถูกขั้ว |
127.9 VAC |
127.4
VAC |
|
L+ กลับขั้ว |
127.9 VAC |
49.5
VAC |
|
L- ถูกขั้ว |
127.7 VAC |
127.4
VAC |
|
L- กลับขั้ว |
127.7 VAC |
49.5
VAC |
|
N+ ถูกขั้ว=กลับขั้ว |
105.4
VDC |
105.5
VDC |
|
N- ถูกขั้ว=กลับขั้ว |
105.4
VDC |
105.5
VDC |
|
L+ ถูกขั้ว=กลับขั้ว |
105.4
VDC |
105.5
VDC |
|
L- ถูกขั้ว=กลับขั้ว |
105.4
VDC |
105.5
VDC |
|
วัดไดโอด4007 ตัวเดียว ฮาฟบริด
กระแสก่อนเข้าELCB
วัดด้วย
FLUKE115 =44mAac(25mAdc)
ET8102=31mAac(25mAdc)
Kyokuto วัดคร่อมไดโอด 4007 ต่อหลังขั้วL ขั้วNต่อตรง |
FLUKE115 |
ET8102 |
วัด2รอบไม่ผิด แรงดันตกคร่อม 4007ไม่ใช่0.5 แต่เป็น105VDC (127VAC) ลองให้ผ่าน 4007
กลับขั้ว ก็ได้เท่ากัน |
ถูกขั้ว |
-104.8
VDC |
-105
VDC |
|
กลับขั้ว |
+104.8 VDC |
+105
VDC |
|
ถูกขั้ว |
127
VAC |
49.5
VAC |
|
กลับขั้ว |
127
VAC |
127.6
VAC |
|
ผ่านไดโอดแล้ว |
36
mAac 25
mAdc |
30.14
mAac 25
mAdc |
|
วัดแรงดันตกคร่อมหลอด ต้นและท้ายELCB |
232 VAC วัดDC OLกระพริบ |
232.5
VAC 18
VDCกระพริบ |
|
วัดแรงดันตกคร่อมหลอด หลังผ่าน4007 |
125.3
VAC 104.1
VDC |
ถูกขั้ว49.28VAC กลับขั้ว126.3VAC 105.0
VDC |
|
|
|
|
|
กระแสผ่าน4007 2ตัว ต่อมัดรวมกันทั้ง2ด้านของ4007
แต่กลับหัวตัวหนึ่ง
4007 2ตัวต่อเข้าขั้วL ขั้วปลาย ELCB
Nต่อตรงกับหลอดไส้5W
Kyokuto |
FLUKE115 |
ET8102 |
|
กระแสก่อนและหลังเข้าELCB |
50mAac (0mAdc) |
50.42mAac (ขึ้น+- 0.3-0.1 mAdcกระพริบ) |
กลับสายวัดได้เท่ากัน |
กระแสผ่าน4007*2 |
49 mAac (0mAdc) |
48.81 mAac (ขึ้น+- 0.2-0.1 mAdcกระพริบ) |
กลับสายวัดได้เท่ากัน |
Vก่อนเข้าELCB |
234.5
VAC (VDCขึ้นOLกระพริบ) |
234.3
VAC (+21VDC กระพริบ) |
กลับสายวัดได้เท่ากัน |
Vหลังเข้าELCB |
233.8
VAC (VDCขึ้นOLกระพริบ) |
233.7
VAC (+21VDC กระพริบ) |
กลับสายวัดได้เท่ากัน |
วัดคร่อม4007*2 |
0.73
VAC (0
VDCกระพริบ) |
0.73
VAC (0.002VDCกระพริบ) |
กลับสายวัดได้เท่ากัน |
|
|
|
|
|
|
|
|
Bewon ถ้าใช้ไฟAC
ลองสลับขั้วLN ก็วัดได้ค่าเท่ากัน
แต่ถ้าผ่านไดโอดซีก+ กับซีก-
จะได้ค่าต่างกันชัดเจน
วัดกระแสด้วยET8102 (LED) และ ET8101
ถ้าวัดกระแสDC max เมื่อผ่านไดโอดตัวเดียว
BEWON Kyokuto กับPANASINIC
ลอคกระแสMAXได้ทุกตัว
ถ้าวัดกระแสDC max เมื่อผ่านบริดไดโอด คือผ่านไดโอด2ตัว
BEWONลอคกระแสMAXได้
Kyokuto กับPANASINIC ลอคกระแสMAXไม่ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น