ไฟฟ้า #123
ตัวกันดูด 15mAกับ30mA เลือกแบบไหนดี ตัดเกิน30mA
อันตรายไหม การเอาตัวรอดจากไฟดูด
24/5/2564 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
PEAK x0.707 = RMS
15mA x0.707 =
10.605mA
30mA x0.707 =
21.21mA
RCCB (Residual Current Circuit Breakers)
RCBO (Residual Current Circuit Breakers with Overload
protection)
มอก.2425-2552 หรือ IEC61008-1
= RCCB (ตัดไฟดูดไฟรั่วอย่างเดียว)
มอก.909-2548
หรือ IEC61009-1 = RCBO (ตัดครบ ไฟดูดไฟรั่ว
ไฟเกินและลัดวงจร)
การทดสอบนี้เป็นการทดสอบELCB
อย่างละ1ตัวเท่านั้น
และมิเตอร์ผมใช้ET8101ในการวัด ซึ่งก็มีค่าความผิดพลาดอยู่เล็กน้อย
สาเหตุที่ทางผู้ผลิตทำพอดีหรือเกินนิดหน่อย
เพื่อต้องการไม่ให้ตัดง่ายจนเกินไป
เช่นถ้าคุมเครื่องซักผ้าหลายเครื่อง
รั่วเครื่องละนิด
รวมกันก็จะทำให้ตัดง่ายหรือตัดบ่อย
จนผู้ใช้อาจรำคาญจนเลิกใช้
และเมื่อเลิกใช้ก็กลับกลายเป็นอันตรายมากกว่าครับ
|
ชนิด |
Trip mA |
>21.21 mA |
>22 mA |
BEWON 15mA |
RCBO |
8.54 |
< |
< |
KYOKUTO KD-L223SC 15mA |
RCCB |
10.45 |
< |
< |
CCS CM6L-32 15mA |
RCBO |
13.40 |
< |
< |
HITEK HCMME38030 30mA |
RCBO |
11.64 |
< |
< |
NPV 114L 30mA |
RCBO |
20.45 |
< |
< |
HACO SB-E16L 30mA |
RCBO |
21.23 |
> |
< |
PANASONIC BJS3030NYT 30mA |
RCCB |
22.39 |
> |
> |
SHIHLIN BL-BF 30mA |
RCCB |
22.70 |
> |
> |
CT 30mA |
RCBO |
23.18 |
> |
> |
ZEBERG CB-03 30mA |
RCBO |
26.53 |
> |
> |
ยี่ห้อที่ไขน็อตแล้วแผ่นล็อคสายไม่ขึ้นตามมียี่ห้อเดียวคือ
PANASONIC
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น