วันพุธที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Cคาปาซิเตอร์ค่าลดก็ใช้ได้พัดลมHATARI capacitor reduced can work



Cคาปาซิเตอร์ค่าลดก็ใช้ได้พัดลมHATARI capacitor reduced can work
3/5/2560 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
Cคาปาซิเตอร์ค่าลดก็ใช้ได้พัดลมHATARI capacitor reduced can work

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 314.7 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 100.9 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 98.7 โอมห์
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก = 419.9 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ค่าโอมห์
ของขดลวดทั้ง4ขดรวมกันคือ 933โอมห์

ถ้าวัดได้ประมาณนี้แสดงว่าขดลวดดี
ไม่ชอตรอบ ไม่ขาด

ขดSTARTขดที่1 อยู่ที่ขาCAPACITORข้างหนึ่ง
กับสวิทช์เบอร์1
ขดSTARTขดที่2 อยู่ที่ขาสวิทช์เบอร์1กับขาสวิทช์เบอร์2
ขดSTARTขดที่3 อยู่ที่ขาสวิทช์เบอร์2กับขาสวิทช์เบอร์3
ขดลวดมอเตอร์หลัก อยู่ที่ขาสวิทช์เบอร์3กับสายไฟร่วม
หรือสายไฟตรงหรือสายไฟACเส้นหนึ่งนั่นเอง
ซึ่งต่อไปนี้ผมจะเรียกว่าสายไฟร่วม
สายไฟร่วมนี้จะผ่านเทอร์โมฟิวส์ก่อน
แล้วจึงเข้าไปที่ขดลวดมอเตอร์หลัก

ส่วนเทอร์โมฟิวส์นี้จะมัดไว้กับขดลวดเมื่อขดลวดเกิดความร้อนเทอร์โมฟิวส์ก็จะขาดทันทีเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟไหม้
อีกทางแยกไปต่อกับขาCAPACITORอีกข้าง
เพื่อให้ไฟSTARTครบวงจร

ส่วนสายไฟACอีกเส้นจะต่อกับสวิทช์
เมื่อกดสวิทช์ใดสายไฟACเส้นนี้ก็จะต่อเข้ากับสวิทช์นั้น
ทำให้ครบวงจร พัดลมหมุนนั่นเอง

ส่วนค่าโอมห์ของเทอร์โมฟิวส์ต่ำมากวัดได้ประมาณ 0.0โอมห์

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 314.7 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 100.9 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 98.7 โอมห์
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก = 419.9 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ค่าโอมห์
ของขดลวดทั้ง4ขดรวมกันคือ 933โอมห์

ถ้าวัดได้ประมาณนี้แสดงว่าขดลวดดี
ไม่ชอตรอบ ไม่ขาด

ขดSTARTขดที่1 อยู่ที่ขาCAPACITORข้างหนึ่ง
กับสวิทช์เบอร์1
ขดSTARTขดที่2 อยู่ที่ขาสวิทช์เบอร์1กับขาสวิทช์เบอร์2
ขดSTARTขดที่3 อยู่ที่ขาสวิทช์เบอร์2กับขาสวิทช์เบอร์3
ขดลวดมอเตอร์หลัก   อยู่ที่ขาสวิทช์เบอร์3กับสายไฟร่วม
หรือสายไฟตรงหรือสายไฟACเส้นหนึ่งนั่นเอง
ซึ่งต่อไปนี้ผมจะเรียกว่าสายไฟร่วม
สายไฟร่วมนี้จะผ่านเทอร์โมฟิวส์ก่อน
แล้วจึงเข้าไปที่ขดลวดมอเตอร์หลัก

ส่วนเทอร์โมฟิวส์นี้จะมัดไว้กับขดลวดเมื่อขดลวดเกิดความร้อนเทอร์โมฟิวส์ก็จะขาดทันทีเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟไหม้

อีกทางแยกไปต่อกับขาCAPACITORอีกข้าง
เพื่อให้ไฟSTARTครบวงจร

ส่วนสายไฟACอีกเส้นจะต่อกับสวิทช์
เมื่อกดสวิทช์ใดสายไฟACเส้นนี้ก็จะต่อเข้ากับสวิทช์นั้น
ทำให้ครบวงจร พัดลมหมุนนั่นเอง

ส่วนค่าโอมห์ของเทอร์โมฟิวส์ต่ำมากวัดได้ประมาณ 0.0โอมห์

ค่าที่ได้จากตารางข้างล่างนี้
ได้มาจากการคลายประจุก่อนการวัด
คลายประจุโดยการชอต2ขั้วเข้าด้วยกัน

แต่ถ้าไม่คลายประจุออกจะได้ค่าเพิ่มอีก1เท่า
เพิ่มอีก1เท่าคือระยะของการตีขึ้นของเข็มไม่ใช่ตัวเลข
สาเหตุเพราะการคลายประจุจะเกิดแรงดันขึ้น2เท่านั่นเอง

CพัดลมHATARIใช้ค่า1.5UF/400VAC
การวัดให้ตั้งย่านX10K แล้วซีโร่โอมห์
Cพัดลมไม่มีขั้ว ดังนั้นการวัดจึงไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว

การวัดเข็มจะตีขึ้นครั้งแรกประมาณเลข30(ยังไม่มีประจุไฟ)
สลับสายวัดจะได้ประมาณเลข7(มีประจุไฟ)
เมื่อสลับสายวัดอีกก็จะได้ประมาณเลข7(มีประจุไฟ)
เนื่องจากครั้งแรกในตัวCยังไม่มีประจุไฟ
แต่พอเราวัดก็จะมีประจุไปเข้าไปในC
เมื่อประจุไฟจนเต็มเข็มก็จะตกลงเหลือ0
เนื่องจากในมิเตอร์เข็มย่านX10K
จะมีไฟออกมาประมาณ12โวลท์65ไมโครแอมป์

ตารางค่าการวัดCด้วยมิเตอร์เข็มย่านX10K
โดยการคลายประจุให้หมดก่อน
ถ้าขึ้นประมาณเลข3 จะได้14UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข6.5 จะได้10UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข7 จะได้9.5UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข13 จะได้3.3UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข22 จะได้2.2UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข30 จะได้1.5UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข40-50 จะได้1UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข45 จะได้0.63UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข70-90 จะได้0.47UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข120-200 จะได้0.22UF
ถ้าขึ้นประมาณเลข300 จะได้0.1UF
ถ้ากระดิกนิดเดียว จะได้0.01UF

ถ้าCค่าลดพัดลมจะหมุนเบาลง
ถ้าCแห้งพัดลมก็จะไม่หมุน

ถ้าเราเพิ่มค่าCเป็น2UFพัดลมก็จะหมุนแรงขึ้น
แต่มอเตอร์

พัดลมHATARI
คาปาซิเตอร์เป็นแบบไม่มีขั้วจะอยู่ใกล้กับมอเตอร์
ซึ่งอยู่ส่วนหัวของพัดลม
บางยี่ห้อจะอยู่ด้านล่างใกล้กับสวิทช์

คาปาซิเตอร์ของพัดลมHATARIใช้ค่า1.5UF/400VAC
ผิดพลาด +-5%
หมายความว่าค่าอยู่ระหว่าง1.425-1.575UF
ใช้มิเตอร์ดิจิตอลตั้งไปที่ย่านวัดC
จะได้ค่าประมาณ 1.5UF หรือลดลงมาเล็กน้อยก็ถือว่าปกติครับ

ถ้าCค่าลดพัดลมจะหมุนเบาลง
ถ้าCแห้งพัดลมก็จะไม่หมุน

ถ้าเราเพิ่มค่าCเป็น2UFพัดลมก็จะหมุนแรงขึ้น
แต่มอเตอร์

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 314.7 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 100.9 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 98.7 โอมห์
4.ขดลวดมอเตอร์หลัก = 419.9 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ค่าโอมห์
ของขดลวดทั้ง4ขดรวมกันคือ 933โอมห์

เทอร์โมฟิวส์จะมีโอมห์ต่ำมากประมาณ 0.0โอมห์

CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC
/////////////////////////////////////////////////////

สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์123

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีชมพูจะต่อไฟเข้าสายสีดำซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีดำจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีดำแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
แยกออกเป็น2ทาง

สายสีเทาแยกที่1
ผ่านเทอร์โมฟิวส์ที่แปะติดกับขดลวดมอเตอร์
เมื่อมีความร้อนสูงก็จะขาด มอเตอร์หยุดทำงาน
เพื่อป้องกันไฟไหม้
แล้วสายสีขาวเทอร์โมฟิวส์มาครบวงจรที่ไฟACสีน้ำเงิน

สายสีเทาแยกที่2
ไฟACวิ่งไปรอที่ขาCAPACITORขั้วหนึ่ง

สายสีดำแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมHATARIที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.5UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีชมพูจะต่อไฟเข้าสายสีน้ำตาลซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีน้ำตาลจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีน้ำตาลแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดมอเตอร์หลักตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากมอเตอร์หลักก็จะเป็นสายสีเทา
แยกออกเป็น2ทาง

สายสีเทาแยกที่1
ผ่านเทอร์โมฟิวส์ที่แปะติดกับขดลวดมอเตอร์
เมื่อมีความร้อนสูงก็จะขาด มอเตอร์หยุดทำงาน
เพื่อป้องกันไฟไหม้
แล้วสายสีขาวเทอร์โมฟิวส์มาครบวงจรที่ไฟACสีน้ำเงิน

สายสีเทาแยกที่2
ไฟACวิ่งไปรอที่ขาCAPACITORขั้วหนึ่ง

สายสีน้ำตาลแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสี่ยงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมHATARIที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.5UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีชมพูจะต่อไฟเข้าสายสีแดงซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีแดงจะแยกออกเป็น2ทาง
สายสีแดงแยกที่1
ผ่านมอเตอร์หลักออกมาเป็นสายสีเทา
แยกออกเป็น2ทาง

สายสีเทาแยกที่1
ผ่านเทอร์โมฟิวส์ที่แปะติดกับขดลวดมอเตอร์
เมื่อมีความร้อนสูงก็จะขาด มอเตอร์หยุดทำงาน
เพื่อป้องกันไฟไหม้
แล้วสายสีขาวเทอร์โมฟิวส์มาครบวงจรที่ไฟACสีน้ำเงิน

สายสีเทาแยกที่2
ไฟACวิ่งไปรอที่ขาCAPACITORขั้วหนึ่ง

สายสีแดงแยกที่2
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่2
แล้วเข้าไปที่ขดSTARTขดที่1
แล้วเข้าไปที่ขาCAPACITORอีกขั้ว
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACVเป็น440ACV
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุนมีแต่เสียงตืดนั่นเอง
เสียงตืดในพัดลมเบาอาจจะไม่ได้ยิน
แต่เสียงตืดในเครื่องซักผ้าจะได้ยินชัดกว่า

ในพัดลมHATARIที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า1.5UF/400VAC
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง440ACV
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1 พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2, กับขดSTARTขดที่3

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3 พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ

เชิญชมคลิปวีดีโอครับ



ไม่มีความคิดเห็น: