วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ไม่หมุนประกอบผิดพัดลม TOSHIBA Fan do not rotate wrong assembled



ไม่หมุนประกอบผิดพัดลม TOSHIBA Fan do not rotate wrong assembled
9/5/2560 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
ไม่หมุนประกอบผิดพัดลม TOSHIBA Fan do not rotate wrong assembled

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ถอดฝาด้านล่างออก
จะมีฟิวส์ 0.5A 250VAC
วัดดูแล้วไม่ขาด
แสดงว่ามอเตอร์ไม่มีการชอตรอบ

ลองวัดขดลวดทุกขดปรากฏว่าไม่ขาด

ลองวัดCคาปาซิเตอร์
โดยการบัดกรีสายออกข้างหนึ่ง
วัดแล้วปรากฏว่าCไม่แห้ง
ค่าได้ตามที่เขียนไว้คือ2.5UF

แสดงว่าเป็นที่กลไก
คือแกนเพลามอเตอร์หรือแกนเพลาโรเตอร์
อาจมีการติดขัด
ลองถอดตะแกรงหน้าออก
แล้วลองหมุนปรากฏว่าแข็งมากหมุนไม่ออก
  ลองถอดที่ล็อคใบพัดออก
แล้วหมุนใบพัดดูปรากฏว่าหมุนคล่องดี

สังเกตุดูแล้ว
สันนิษฐานว่า ถอดออกมาทำความสะอาดแล้ว
ประกอบไม่เข้าเดือยหรือไม่เข้าล็อค
จึงทำให้ขัดกับแกนเพลา จึงไม่สามารถหมุนได้

ทำการประกอบใหม่ใช้ได้แล้ว
ลองทดสอบแรงลมกับพัดลมPROTECH 12นิ้ว
ปรากฏว่าพัดลมTOSHIBAแรงกว่านิดหน่อยครับ

มิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115 ตั้งย่านโอมห์
 วัดคร่อมC 2.5UF200VAC
สายสีน้ำเงินกับสายสีเขียวได้ 604.4 โอมห์
เป็นการวัดขดลวด3ขดครึ่งรวมกัน
คือขดสตาร์ทที่1,ขดสตาร์ทที่2,ขดสตาร์ทที่3,
และขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน) ครึ่งขด

สายสีน้ำเงินจะมี2แห่ง
คือสายสตาร์ทที่ขั้วคาปาซิเตอร์กับสายสวิทช์เบอร์2
ซึ่งจะแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง
ไม่ใช่สายเดียวกันนะครับ

 วัดขดสตาร์ทขดที่1
สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นสายสตาร์ทอยู่ที่Cสตาร์ท
กับสายสีดำหรือสายสวิทช์เบอร์1 ได้ 25.2โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่2
สายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1
กับสายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2 ได้ 100.6โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่3
สายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2
กับสายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3 ได้ 261.5โอมห์

  วัดขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
สายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3
กับสายสีขาวหรือสายไฟACที่ต่อเข้ามาตรงๆ
ได้ 434โอมห์

  จับที่สายสีเขียวที่ขั้วคาปาซิเตอร์
สายสีเขียวคือสายมอเตอร์หลัก(สายรัน)
ที่ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
  จับที่สายสีเขียวเป็นหลัก
วัดเทียบกับสายสีขาวได้ 216.7 โอมห์
วัดเทียบกับสายสีแดงได้ 217.2 โอมห์
สังเกตุว่าโอมห์จะได้ใกล้เคียงกัน

ถ้าวัดรวมขดจะได้ดังนี้
จับที่สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นหลัก จากนั้น
  วัดสายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1 ได้ 25.2 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว
  วัดสายสีน้ำเงินหรือสวิทช์เบอร์2 ได้ 125.7 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2รวม2ขด
  วัดสายสีแดงหรือสวิทช์เบอร์3 ได้ 387.2 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3 รวม3ขด
  วัดสายสีขาวหรือสายไฟACที่เข้ามาที่มอเตอร์ตรงๆ
ได้ 822 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3กับขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
รวม4ขด เป็นการวัดทุกขดรวมกัน

ถ้าวัดได้แบบนี้แสดงว่าขดลวดดีทั้ง4ขด

ในกรณีที่วัดรวมขดแล้วได้โอมห์ที่ต่ำลง
ก็แสดงว่ามีการชอตระหว่างขด
หรือชอตข้ามขด

โอมห์ที่ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
ถ้าโอมห์ยิ่งต่ำยิ่งมีกำลัง จะใช้กับพัดลมที่ใหญ่ขึ้น
แต่กินกระแสมากขึ้นและทำให้เสียเร็วขึ้น

สตาร์ทขดที่1 จะทำหน้าที่สตาร์ทอย่างเดียว
สตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่3จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ทและทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1และเบอร์2

ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ก็จะทำหน้าที่อย่างเดียวคือรัน

มิเตอร์เข็ม ตั้งย่านX10 แล้วซีโร่โอมห์
 วัดคร่อมC 2.5UF200VAC
สายสีน้ำเงินกับสายสีเขียวได้ 600 โอมห์
เป็นการวัดขดลวด3ขดครึ่งรวมกัน
คือขดสตาร์ทที่1,ขดสตาร์ทที่2,ขดสตาร์ทที่3,
และขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน) ครึ่งขด

สายสีน้ำเงินจะมี2แห่ง
คือสายสตาร์ทที่ขั้วคาปาซิเตอร์กับสายสวิทช์เบอร์2
ซึ่งจะแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง
ไม่ใช่สายเดียวกันนะครับ

 วัดขดสตาร์ทขดที่1
สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นสายสตาร์ทอยู่ที่Cสตาร์ท
กับสายสีดำหรือสายสวิทช์เบอร์1 ได้ 28โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่2
สายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1
กับสายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2 ได้ 100โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่3
สายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2
กับสายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3 ได้ 260โอมห์

  วัดขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
สายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3
กับสายสีขาวหรือสายไฟACที่ต่อเข้ามาตรงๆ
ได้ 500โอมห์

  จับที่สายสีเขียวที่ขั้วคาปาซิเตอร์
สายสีเขียวคือสายมอเตอร์หลัก(สายรัน)
ที่ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
  จับที่สายสีเขียวเป็นหลัก
วัดเทียบกับสายสีขาวได้ 238 โอมห์
วัดเทียบกับสายสีแดงได้ 238.5 โอมห์
สังเกตุว่าโอมห์จะได้ใกล้เคียงกัน

ถ้าวัดรวมขดจะได้ดังนี้
จับที่สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นหลัก จากนั้น
  วัดสายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1 ได้ 28 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว
  วัดสายสีน้ำเงินหรือสวิทช์เบอร์2 ได้ 130 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2รวม2ขด
  วัดสายสีแดงหรือสวิทช์เบอร์3 ได้ 400 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3 รวม3ขด
  วัดสายสีขาวหรือสายไฟACที่เข้ามาที่มอเตอร์ตรงๆ
ได้ 820 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3กับขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
รวม4ขด เป็นการวัดทุกขดรวมกัน

ถ้าวัดได้แบบนี้แสดงว่าขดลวดดีทั้ง4ขด

ในกรณีที่วัดรวมขดแล้วได้โอมห์ที่ต่ำลง
ก็แสดงว่ามีการชอตระหว่างขด
หรือชอตข้ามขด

โอมห์ที่ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
ถ้าโอมห์ยิ่งต่ำยิ่งมีกำลัง จะใช้กับพัดลมที่ใหญ่ขึ้น
แต่กินกระแสมากขึ้นและทำให้เสียเร็วขึ้น

สตาร์ทขดที่1 จะทำหน้าที่สตาร์ทอย่างเดียว
สตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่3จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ทและทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1และเบอร์2

ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ก็จะทำหน้าที่อย่างเดียวคือรัน

การวัดโอมห์ต้องดึงปลั๊กไฟออกก่อน

มิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115 ตั้งย่านโอมห์
  สายไฟACเส้นหนึ่งจะเข้ามาที่สวิทช์
แล้วผ่านฟิวส์ 0.5A250VAC

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์1 คือสายสีดำ

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์2 คือสายสีน้ำเงิน

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์3 คือสายสีแดง

วัดคร่อมฟิวส์0.5A ได้ 0.3โอมห์
หักค่าสายมิเตอร์ 0.2โอมห์แล้ว
ฟิวส์จะมีโอมห์ 0.1โอมห์เท่านั้น

ฟิวส์ตัวนี้เวลาเปลี่ยนควรใช้แบบที่มีเครื่องหมายCE
รับรองครับ เพื่อความเที่ยงตรง

ฟิวส์ตัวนี้จะทำหน้าที่ป้องกันไฟไหม้
ในกรณีที่มีการชอตรอบของมอเตอร์
จะทำให้เกิดความร้อนสูงขึ้นที่ขดลวด
ฟิวส์ตัวนี้จะขาดทันทีเพื่อป้องกันไฟไหม้

เอาสายมิเตอร์จับที่สายไฟACที่ผ่านสวิทช์เป็นหลัก
กดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ วัดได้ 3 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน วัดได้ 2 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง วัดได้ 8 โอมห์
สวิทช์ที่ดีควรมีโอมห์ที่สวิทช์ ประมาณ 0 โอมห์
แต่การวัดนี้ได้โอมห์สูง ประมาณ 8โอมห์

แต่การวัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลถ้าหน้าสัมผัสไม่ดี
จะวัดได้โอมห์ที่สูงกว่าความเป็นจริง
  ลองวัดสวิทช์ที่3 ด้วยมิเตอร์เข็มแล้วได้ 1.7โอมห์เท่านั้น
แต่ถ้ามีโอมห์สูงประมาณที่วัดมานี้ก็สามารถใช้งานได้

ได้ลองใช้งานจริงแล้ว
และปัจจุบันก็ยังใช้งานอยู่ ไม่มีปัญหาครับ

การวัดโอมห์ต้องดึงปลั๊กไฟออกก่อน

มิเตอร์เข็ม ตั้งย่านX1 ซีโร่โอมห์
  สายไฟACเส้นหนึ่งจะเข้ามาที่สวิทช์
แล้วผ่านฟิวส์ 0.5A250VAC

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์1 คือสายสีดำ

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์2 คือสายสีน้ำเงิน

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์3 คือสายสีแดง

วัดคร่อมฟิวส์0.5A ได้ 0.1โอมห์
ฟิวส์ตัวนี้เวลาเปลี่ยนควรใช้แบบที่มีเครื่องหมายCE
รับรองครับ เพื่อความเที่ยงตรง

ฟิวส์ตัวนี้จะทำหน้าที่ป้องกันไฟไหม้
ในกรณีที่มีการชอตรอบของมอเตอร์
จะทำให้เกิดความร้อนสูงขึ้นที่ขดลวด
ฟิวส์ตัวนี้จะขาดทันทีเพื่อป้องกันไฟไหม้

เอาสายมิเตอร์จับที่สายไฟACที่ผ่านสวิทช์เป็นหลัก
กดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ วัดได้ 1.2 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน วัดได้ 1.6 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง วัดได้ 1.7 โอมห์
สวิทช์ที่ดีควรมีโอมห์ที่สวิทช์ ประมาณ 0 โอมห์

ในกรณีนี้
ถ้าใช้มิเตอร์ดิจิตอลจะได้โอมห์ที่สูงกว่าความเป็นจริง
คือ
สวิทช์เบอร์1 ได้ 3 โอมห์
สวิทช์เบอร์2 ได้ 2 โอมห์
สวิทช์เบอร์3 ได้ 8 โอมห์
การวัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115
ถ้าหากหน้าสัมผัสไม่ดีจะเกิดโอมห์ที่สูงกว่าความเป็นจริง
ถ้าใช้มิเตอร์เข็มจะแม่นยำกว่า

หน้าสัมผัสสวิทช์มีโอมห์ระดับนี้
จะไม่มีปัญหาในการใช้งาน
ได้ลองใช้งานจริงแล้ว
และปัจจุบันยังใช้งานอยู่ ไม่มีปัญหาครับ

สีสายไฟของพัดลมTOSHIBA
จะใช้สีประจำตัวดังนี้

ขดรัน บางคนเรียกว่า ขดมอเตอร์หลัก

สีขาวคือสายไฟACเส้นหนึ่งที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆ
สายสีดำ  คือสายสวิทช์เบอร์1
สายสีน้ำเงิน คือสายสวิทช์เบอร์2
สายสีแดง คือสายสวิทช์เบอร์3

สายสีน้ำเงินจะมี2เส้น แต่จะไม่เกี่ยวข้องกัน
สายสีน้ำเงินที่มาจากสวิทช์เบอร์2
จะเป็นสายสวิทช์เบอร์2
  ส่วนสายสีน้ำเงินที่ขั้วCคาปาซิเตอร์(ซีสตาร์ท)
จะเป็นสายสตาร์ท(START)

ที่Cคาปาซิเตอร์(ซีสตาร์ท)
คาปาซิเตอร์ จะมี2ขั้ว
  ขั้วหนึ่งจะเป็นสายสีเขียว(สายเล็กกว่าสายอื่น)
สายสีเขียวเป็นสายรันแบบครึ่งขด
หมายถึงต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
  อีกขั้วหนึ่งคือสายสีน้ำเงิน สายสีน้ำเงินคือสายสตาร์ท

ขดรันคือสายสีแดง(สายสวิทช์เบอร์3)
กับสายสีขาว(สายไฟACเส้นที่จั๊มเข้ามาตรงๆ)

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า2.5UF 200VAC 50HZ

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า 2.5UF 200VAC 50HZ
วัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115
ตั้งเป็นย่านVAC การวัดไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว
เสียบไฟบ้าน220VAC
  กดสวิทช์เบอร์1  วัดCได้ 176 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 328 VAC
  กดสวิทช์เบอร์2  วัดCได้ 184 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 357 VAC
  กดสวิทช์เบอร์3  วัดCได้ 166 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 368 VAC
  สังเกตุว่า พัดลมTOSHIBA
โวลท์ของเบอร์2มากสุด
ส่วนเบอร์3 โวลท์ต่ำสุด ต่ำกว่าเบอร์1
ถ้าเป็นอย่างนี้ไม่เสีย
เพราะการจัดวงจรที่ต่างออกไป คือ
สายรันสีเขียวที่ต่ออยู่ที่ขั้วCเป็นสายเล็กกว่าสายอื่น
ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ส่วนยี่ห้ออื่นเช่นHATARI จะต่อขดรันแบบเต็มขด

ถ้าวัดได้อย่างนี้แสดงว่า Cดี
ขดลวดทั้ง4ขด คือสตาร์ทขดที่1,2,3
และขดลวดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ดี
สวิทช์ดี ทุกอย่างดี

สายสวิทช์เบอร์1สีดำ เบอร์2สีน้ำเงิน เบอร์3สีแดง
สายสตาร์ทต่ออยู่ที่ขั้วCสีน้ำเงิน
สายรันต่อยู่ที่ขั้วCสีเขียว(สายเล็ก)
สายสีน้ำเงินที่ขั้วCคาปาซิเตอร์
กับสายสีน้ำเงินที่สวิทช์เบอร์2 เป็นสายคนละส่วนกัน

สายรัน(สายมอเตอร์หลัก)สีเขียวเล็ก
จะต่ออยู่ที่ขั้วC(คาปาซิเตอร์)
จะต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
สายสวิทช์เบอร์1 2 3เป็นสายคอมม่อนหรือสายร่วม

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์1สีดำเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้228VAC
เป็นการวัดไฟรัน 3ขด คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้228VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่2และ3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบาที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 171VAC
เป็นการวัด2ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้5.9VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์2สีน้ำเงินเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้228VAC
เป็นการวัดไฟรัน 2ขด คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก) ได้228VAC
เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบากว่าสวิทช์เบอร์3
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 155VAC
เป็นการวัด1ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้35VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
รวมกัน2ขด

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์3สีแดงเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้228VAC
เป็นการวัดไฟรัน 1ขด คือ ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้228VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ตอนนี้จะไม่มีขดสตาร์ทมาจำกัดกระแสแล้ว
ทำให้มอเตอร์หมุนแรงที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 99.7VAC
เป็นการวัดขดรันหรือขดมอเตอร์หลักครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้141VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
กับสตาร์ทขดที่3 รวมกัน3ขด

ขดสตาร์ทขดที่2 และสตาร์ทขดที่3
จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ท กับ จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เช่น
เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ขดสตาร์ทขดที่3 จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เพื่อให้หมุนได้เบากว่าสวิทช์เบอร์3
และแรงกว่าสวิทช์เบอร์1
  ส่วนขดสตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่1
จะทำหน้าที่เป็นไฟสตาร์ทให้กับมอเตอร์
จึงจะทำให้มอเตอร์หมุนไปได้นั่นเอง

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า 2.5UF 200VAC 50HZ
วัดด้วยมิเตอร์เข็ม
ตั้งเป็นย่านVAC การวัดไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว
เสียบไฟบ้าน220VAC
  กดสวิทช์เบอร์1  วัดCได้ 170 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 328 VAC
  กดสวิทช์เบอร์2  วัดCได้ 177 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 357 VAC
  กดสวิทช์เบอร์3  วัดCได้ 156 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 368 VAC
  สังเกตุว่า พัดลมTOSHIBA
โวลท์ของเบอร์2มากสุด
ส่วนเบอร์3 โวลท์ต่ำสุด ต่ำกว่าเบอร์1
ถ้าเป็นอย่างนี้ไม่เสีย
เพราะการจัดวงจรที่ต่างออกไป คือ
สายรันสีเขียวที่ต่ออยู่ที่ขั้วCเป็นสายเล็กกว่าสายอื่น
ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ส่วนยี่ห้ออื่นเช่นHATARI จะต่อขดรันแบบเต็มขด

ถ้าวัดได้อย่างนี้แสดงว่า Cดี
ขดลวดทั้ง4ขด คือสตาร์ทขดที่1,2,3
และขดลวดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ดี
สวิทช์ดี ทุกอย่างดี

สายสวิทช์เบอร์1สีดำ เบอร์2สีน้ำเงิน เบอร์3สีแดง
สายสตาร์ทต่ออยู่ที่ขั้วCสีน้ำเงิน
สายรันต่อยู่ที่ขั้วCสีเขียว(สายเล็ก)
สายสีน้ำเงินที่ขั้วCคาปาซิเตอร์
กับสายสีน้ำเงินที่สวิทช์เบอร์2 เป็นสายคนละส่วนกัน

สายรัน(สายมอเตอร์หลัก)สีเขียวเล็ก
จะต่ออยู่ที่ขั้วC(คาปาซิเตอร์)
จะต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
สายสวิทช์เบอร์1 2 3เป็นสายคอมม่อนหรือสายร่วม

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์1สีดำเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้226VAC
เป็นการวัดไฟรัน 3ขด คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้226VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่2และ3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบาที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 168VAC
เป็นการวัด2ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้5.2VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์2สีน้ำเงินเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้226VAC
เป็นการวัดไฟรัน 2ขด คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก) ได้226VAC
เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบากว่าสวิทช์เบอร์3
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 154VAC
เป็นการวัด1ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้35VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
รวมกัน2ขด

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์3สีแดงเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้226VAC
เป็นการวัดไฟรัน 1ขด คือ ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้226VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ตอนนี้จะไม่มีขดสตาร์ทมาจำกัดกระแสแล้ว
ทำให้มอเตอร์หมุนแรงที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 99VAC
เป็นการวัดขดรันหรือขดมอเตอร์หลักครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้137VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
กับสตาร์ทขดที่3 รวมกัน3ขด

ขดสตาร์ทขดที่2 และสตาร์ทขดที่3
จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ท กับ จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เช่น
เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ขดสตาร์ทขดที่3 จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เพื่อให้หมุนได้เบากว่าสวิทช์เบอร์3
และแรงกว่าสวิทช์เบอร์1
  ส่วนขดสตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่1
จะทำหน้าที่เป็นไฟสตาร์ทให้กับมอเตอร์
จึงจะทำให้มอเตอร์หมุนไปได้แรงกว่าสวิทช์เบอร์1นั่นเอง

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า 2.5UF 200VAC 50/60HZ
วัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115
ปรับไปย่านC
แล้วกดปุ่นสีเหลืองก็จะเป็นย่านวัดคาปาซิเตอร์
การวัดไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว
วัดได้ 2.46UF ถ้าวัดได้ค่าลดเล็กน้อยแบบนี้
ก็ถือว่าCดีไม่มีปัญหาครับ

พัดลมTOSHIBAรุ่นEL858Cเป็นพัดลม12นิ้ว

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 25.2 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 100.7 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 261.5 โอมห์
4.ขดรันหรือขดมอเตอร์หลัก = 434 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ 604.4 โอมห์
เป็นการวัดขดลวด3ขดครึ่งรวมกัน
คือขดสตาร์ทที่1,ขดสตาร์ทที่2,ขดสตาร์ทที่3,
และขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน) ครึ่งขด

CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC หรือคาปาซิเตอร์
ขดรันเรียกอีกอย่างว่าขดมอเตอร์หลัก

ขดSTARTขดที่2 กับขดSTARTขดที่3
จะทำหน้าที่2อย่าง คือ
สตาร์ท กับจำกัดกระแสให้ขดรัน
ขึ้นอยู่กับว่าจะกดสวิทช์เบอร์อะไร
การทำงานจะเปลี่ยนไปตามการกดสวิทช์
/////////////////////////////////////////////////////
สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์1สีดำ
สายสวิทช์เบอร์2สีน้ำเงิน
สายสวิทช์เบอร์3สีแดง
ส่วนสายสีขาวจะเป็นไฟACที่เข้าไปที่ขดรันตรงๆ
ส่วนสายที่อยู่ที่ขั้วCค่า2.5UF200VAC50/60HZ
คือสายสีน้ำเงิน สายสีน้ำเงินนี้คือสายสตาร์ท
ส่วนสายสีน้ำเงินที่สวิทช์เบอร์2 จะไม่เกี่ยวข้องกัน
ส่วนอีกเส้นที่ต่ออยู่ที่ขั้วCคือสายสีเขียว
สายสีเขียว(เส้นเล็ก)คือสายรันแบบครึ่งขด

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีดำซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีดำจะแยกออกเป็น3ทาง
สายสีดำแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากขดรันก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับไฟACอีกเส้น ครบวงจร

สายสีดำแยกที่2
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันประมาณครึ่งขด
ออกมาเป็นสายสีเขียวเข้าที่ขั้วคาปาซิเตอร์
เรียกสายเส้นนี้ว่าสายรันแบบครึ่งขด

สายสีดำแยกที่3
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาคาปาซิเตอร์อีกขั้ว
คือสายสีน้ำเงิน
สายสีน้ำเงินนี้เรียกว่าสายสตาร์ท
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACV
แต่ต่อออกมาที่คาปาซิเตอร์สายสีเขียว
เพียงประมาณครึ่งขดรัน แรงไฟจึงเหลือประมาณ110VAC
แต่จังหวะที่คาปาซิเตอร์คลายประจุจะมีแรงดันเป็น2เท่า
คือ 220VAC แต่มีโหลดและการจัดวงจรจึงทำให้ไฟตกลงมา
เหลีอไม่เกิน 200VAC
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุน แต่ไม่มีเสียงตืดใดๆ
ถ้าเป็นเครื่องซักผ้าจะมีเสียงตืดให้ได้ยิน

ในพัดลมTOSHIBAรุ่น12นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า2.5UF/200VAC/50/60HZ
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง200VAC
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
สำหรับTOSHIBAรุ่น12นิ้วนี้ วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 176 ACV
สวิทช์เบอร์2 184 ACV
สวิทช์เบอร์3 166 ACV
สังเกตุว่า ไฟคร่อมCที่สวิทช์เบอร์3จะต่ำที่สุด

ถ้าเป็นHATARIรุ่น18นิ้ว วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 328 ACV
สวิทช์เบอร์2 357 ACV
สวิทช์เบอร์1 368 ACV
สังเกตุว่า ไฟคร่อมCที่สวิทช์เบอร์3จะมากที่สุด
///////////////////////////////////////////////////
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีน้ำเงินซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีน้ำเงินจะแยกออกเป็น3ทาง
สายสีน้ำเงินแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากขดรันก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับไฟACอีกเส้น ครบวงจร

สายสีน้ำเงินแยกที่2
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันประมาณครึ่งขด
ออกมาเป็นสายสีเขียวเข้าที่ขั้วคาปาซิเตอร์
เรียกสายเส้นนี้ว่าสายรันแบบครึ่งขด

สายสีน้ำเงินแยกที่3
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2และขดSTARTขดที่1
เข้าไปที่ขาคาปาซิเตอร์อีกขั้ว คือสายสีน้ำเงิน
สายสีน้ำเงินนี้เรียกว่าสายสตาร์ท
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACV
แต่ต่อออกมาที่คาปาซิเตอร์สายสีเขียว
เพียงประมาณครึ่งขดรัน แรงไฟจึงเหลือประมาณ110VAC
แต่จังหวะที่คาปาซิเตอร์คลายประจุจะมีแรงดันเป็น2เท่า
คือ 220VAC แต่มีโหลดและการจัดวงจรจึงทำให้ไฟตกลงมา
เหลีอไม่เกิน 200VAC
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุน แต่ไม่มีเสียงตืดใดๆ
ถ้าเป็นเครื่องซักผ้าจะมีเสียงตืดให้ได้ยิน
///////////////////////////////////////////////////////
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีแดงซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีแดงจะแยกออกเป็น3ทาง
สายสีแดงแยกที่1
เข้าไปที่ขดขดรัน เพียงขดเดียว
เมื่อไฟACออกจากขดรันก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับไฟACอีกเส้น ครบวงจร

สายสีแดงแยกที่2
เข้าไปที่ขดรันประมาณครึ่งขด
ออกมาเป็นสายสีเขียวเข้าที่ขั้วคาปาซิเตอร์
เรียกสายเส้นนี้ว่าสายรันแบบครึ่งขด

สายสีแดงแยกที่3
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3และขดSTARTขดที่2
และขดSTARTขดที่1
เข้าไปที่ขาคาปาซิเตอร์อีกขั้ว คือสายสีน้ำเงิน
สายสีน้ำเงินนี้เรียกว่าสายสตาร์ท
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACV
แต่ต่อออกมาที่คาปาซิเตอร์สายสีเขียว
เพียงประมาณครึ่งขดรัน แรงไฟจึงเหลือประมาณ110VAC
แต่จังหวะที่คาปาซิเตอร์คลายประจุจะมีแรงดันเป็น2เท่า
คือ 220VAC แต่มีโหลดและการจัดวงจรจึงทำให้ไฟตกลงมา
เหลีอไม่เกิน 200VAC
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุน แต่ไม่มีเสียงตืดใดๆ
ถ้าเป็นเครื่องซักผ้าจะมีเสียงตืดให้ได้ยิน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1 พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2, กับขดSTARTขดที่3

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3 พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ

พัดลมTOSHIBAรุ่นEL858Cเป็นพัดลม12นิ้ว

สำหรับสวิทช์ของพัดลมTOSHIBAรุ่นนี้
จะใช้ริเวทยิงเพื่อยึดสะพานไฟซึ่งเป็นทองแดง
ดังนั้นเมื่อมีการถอดสวิทช์ออกมาตรวจเช็ค
จะทำให้สะพานไฟหลุดออกจากร่องบาก
ทำให้เมื่อใช้งานไปสักพัก
ก็จะเคลื่อนออกจากตำแหน่งสวิทช์
ทำให้สวิทช์เบอร์นั้นกดไม่ติด

ให้หมุนสะพานไฟแล้วกดเข้าไปในร่องบาก
เพื่อล็อคสะพานไฟไม่ให้เคลื่อนที่
เท่านี้ก็เป็นอันว่าเสร็จ
ดูตัวอย่างจากสวิทช์อื่น

เวลาใส่กลับเข้าไป
สายไฟควรใส่เข้าไปในร่องฐานตามเดิม
เพื่อไม่ให้สะพานไฟเคลื่อนที่หลุดออกมาอีก

เวลากดสวิทช์จะมีก้อนพลาสติกกดไปที่สะพานไฟ
ทำให้สะพานไฟโน้มลงไปแตะกับแผ่นรับสวิทช์
แผ่นรับสวิทช์จะเป็นแท่งทองแดงยาว
อยู่ระหว่างสวิทช์เบอร์1ถึง3 เพื่อรับการกดสวิทช์
  เมื่อสายไฟACผ่านขดลวดมอเตอร์
แล้วมาผ่านสะพานไฟ
เมื่อกดสวิทช์สะพานไฟก็จะแตะกับแท่งรับสวิทช์
ผ่านฟิวส์0.5Aแล้วเข้าสายไฟACอีกเส้น
ทำให้ครบวงจรพัดลมติดได้นั่นเอง

เมื่อมอเตอร์เกิดการช็อทรอบ
ก็จะทำให้มีการกินกระแสมากขึ้น
จนทำให้ฟิวส์ขาด

ถ้าฟิวส์เกิดการชำรุดก็อาจจะขาดเองได้เช่นกัน


 ไม่หมุนประกอบผิดพัดลม TOSHIBA Fan do not rotate wrong assembled
9/5/2560 SONGCHAI PRAPATRUNGSEE
ไม่หมุนประกอบผิดพัดลม TOSHIBA Fan do not rotate wrong assembled

การซ่อมต้องใส่รองเท้า และห้ามเปียกน้ำ
และห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
แตะถูกตัวนำไฟฟ้า
เพราะอันตรายอาจถึงชึวิตได้

ถอดฝาด้านล่างออก
จะมีฟิวส์ 0.5A 250VAC
วัดดูแล้วไม่ขาด
แสดงว่ามอเตอร์ไม่มีการชอตรอบ

ลองวัดขดลวดทุกขดปรากฏว่าไม่ขาด

ลองวัดCคาปาซิเตอร์
โดยการบัดกรีสายออกข้างหนึ่ง
วัดแล้วปรากฏว่าCไม่แห้ง
ค่าได้ตามที่เขียนไว้คือ2.5UF

แสดงว่าเป็นที่กลไก
คือแกนเพลามอเตอร์หรือแกนเพลาโรเตอร์
อาจมีการติดขัด
ลองถอดตะแกรงหน้าออก
แล้วลองหมุนปรากฏว่าแข็งมากหมุนไม่ออก
  ลองถอดที่ล็อคใบพัดออก
แล้วหมุนใบพัดดูปรากฏว่าหมุนคล่องดี

สังเกตุดูแล้ว
สันนิษฐานว่า ถอดออกมาทำความสะอาดแล้ว
ประกอบไม่เข้าเดือยหรือไม่เข้าล็อค
จึงทำให้ขัดกับแกนเพลา จึงไม่สามารถหมุนได้

ทำการประกอบใหม่ใช้ได้แล้ว
ลองทดสอบแรงลมกับพัดลมPROTECH 12นิ้ว
ปรากฏว่าพัดลมTOSHIBAแรงกว่านิดหน่อยครับ

มิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115 ตั้งย่านโอมห์
 วัดคร่อมC 2.5UF200VAC
สายสีน้ำเงินกับสายสีเขียวได้ 604.4 โอมห์
เป็นการวัดขดลวด3ขดครึ่งรวมกัน
คือขดสตาร์ทที่1,ขดสตาร์ทที่2,ขดสตาร์ทที่3,
และขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน) ครึ่งขด

สายสีน้ำเงินจะมี2แห่ง
คือสายสตาร์ทที่ขั้วคาปาซิเตอร์กับสายสวิทช์เบอร์2
ซึ่งจะแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง
ไม่ใช่สายเดียวกันนะครับ

 วัดขดสตาร์ทขดที่1
สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นสายสตาร์ทอยู่ที่Cสตาร์ท
กับสายสีดำหรือสายสวิทช์เบอร์1 ได้ 25.2โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่2
สายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1
กับสายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2 ได้ 100.6โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่3
สายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2
กับสายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3 ได้ 261.5โอมห์

  วัดขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
สายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3
กับสายสีขาวหรือสายไฟACที่ต่อเข้ามาตรงๆ
ได้ 434โอมห์

  จับที่สายสีเขียวที่ขั้วคาปาซิเตอร์
สายสีเขียวคือสายมอเตอร์หลัก(สายรัน)
ที่ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
  จับที่สายสีเขียวเป็นหลัก
วัดเทียบกับสายสีขาวได้ 216.7 โอมห์
วัดเทียบกับสายสีแดงได้ 217.2 โอมห์
สังเกตุว่าโอมห์จะได้ใกล้เคียงกัน

ถ้าวัดรวมขดจะได้ดังนี้
จับที่สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นหลัก จากนั้น
  วัดสายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1 ได้ 25.2 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว
  วัดสายสีน้ำเงินหรือสวิทช์เบอร์2 ได้ 125.7 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2รวม2ขด
  วัดสายสีแดงหรือสวิทช์เบอร์3 ได้ 387.2 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3 รวม3ขด
  วัดสายสีขาวหรือสายไฟACที่เข้ามาที่มอเตอร์ตรงๆ
ได้ 822 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3กับขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
รวม4ขด เป็นการวัดทุกขดรวมกัน

ถ้าวัดได้แบบนี้แสดงว่าขดลวดดีทั้ง4ขด

ในกรณีที่วัดรวมขดแล้วได้โอมห์ที่ต่ำลง
ก็แสดงว่ามีการชอตระหว่างขด
หรือชอตข้ามขด

โอมห์ที่ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
ถ้าโอมห์ยิ่งต่ำยิ่งมีกำลัง จะใช้กับพัดลมที่ใหญ่ขึ้น
แต่กินกระแสมากขึ้นและทำให้เสียเร็วขึ้น

สตาร์ทขดที่1 จะทำหน้าที่สตาร์ทอย่างเดียว
สตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่3จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ทและทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1และเบอร์2

ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ก็จะทำหน้าที่อย่างเดียวคือรัน

มิเตอร์เข็ม ตั้งย่านX10 แล้วซีโร่โอมห์
 วัดคร่อมC 2.5UF200VAC
สายสีน้ำเงินกับสายสีเขียวได้ 600 โอมห์
เป็นการวัดขดลวด3ขดครึ่งรวมกัน
คือขดสตาร์ทที่1,ขดสตาร์ทที่2,ขดสตาร์ทที่3,
และขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน) ครึ่งขด

สายสีน้ำเงินจะมี2แห่ง
คือสายสตาร์ทที่ขั้วคาปาซิเตอร์กับสายสวิทช์เบอร์2
ซึ่งจะแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง
ไม่ใช่สายเดียวกันนะครับ

 วัดขดสตาร์ทขดที่1
สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นสายสตาร์ทอยู่ที่Cสตาร์ท
กับสายสีดำหรือสายสวิทช์เบอร์1 ได้ 28โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่2
สายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1
กับสายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2 ได้ 100โอมห์

 วัดขดสตาร์ทขดที่3
สายสีน้ำเงินหรือสายสวิทช์เบอร์2
กับสายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3 ได้ 260โอมห์

  วัดขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
สายสีแดงหรือสายสวิทช์เบอร์3
กับสายสีขาวหรือสายไฟACที่ต่อเข้ามาตรงๆ
ได้ 500โอมห์

  จับที่สายสีเขียวที่ขั้วคาปาซิเตอร์
สายสีเขียวคือสายมอเตอร์หลัก(สายรัน)
ที่ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
  จับที่สายสีเขียวเป็นหลัก
วัดเทียบกับสายสีขาวได้ 238 โอมห์
วัดเทียบกับสายสีแดงได้ 238.5 โอมห์
สังเกตุว่าโอมห์จะได้ใกล้เคียงกัน

ถ้าวัดรวมขดจะได้ดังนี้
จับที่สายสีน้ำเงินที่ขั้วคาปาซิเตอร์เป็นหลัก จากนั้น
  วัดสายสีดำหรือสวิทช์เบอร์1 ได้ 28 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว
  วัดสายสีน้ำเงินหรือสวิทช์เบอร์2 ได้ 130 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2รวม2ขด
  วัดสายสีแดงหรือสวิทช์เบอร์3 ได้ 400 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3 รวม3ขด
  วัดสายสีขาวหรือสายไฟACที่เข้ามาที่มอเตอร์ตรงๆ
ได้ 820 โอมห์
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับสตาร์ทขดที่2
กับขดสตาร์ทขดที่3กับขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
รวม4ขด เป็นการวัดทุกขดรวมกัน

ถ้าวัดได้แบบนี้แสดงว่าขดลวดดีทั้ง4ขด

ในกรณีที่วัดรวมขดแล้วได้โอมห์ที่ต่ำลง
ก็แสดงว่ามีการชอตระหว่างขด
หรือชอตข้ามขด

โอมห์ที่ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
ถ้าโอมห์ยิ่งต่ำยิ่งมีกำลัง จะใช้กับพัดลมที่ใหญ่ขึ้น
แต่กินกระแสมากขึ้นและทำให้เสียเร็วขึ้น

สตาร์ทขดที่1 จะทำหน้าที่สตาร์ทอย่างเดียว
สตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่3จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ทและทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1และเบอร์2

ขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ก็จะทำหน้าที่อย่างเดียวคือรัน

การวัดโอมห์ต้องดึงปลั๊กไฟออกก่อน

มิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115 ตั้งย่านโอมห์
  สายไฟACเส้นหนึ่งจะเข้ามาที่สวิทช์
แล้วผ่านฟิวส์ 0.5A250VAC

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์1 คือสายสีดำ

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์2 คือสายสีน้ำเงิน

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์3 คือสายสีแดง

วัดคร่อมฟิวส์0.5A ได้ 0.3โอมห์
หักค่าสายมิเตอร์ 0.2โอมห์แล้ว
ฟิวส์จะมีโอมห์ 0.1โอมห์เท่านั้น

ฟิวส์ตัวนี้เวลาเปลี่ยนควรใช้แบบที่มีเครื่องหมายCE
รับรองครับ เพื่อความเที่ยงตรง

ฟิวส์ตัวนี้จะทำหน้าที่ป้องกันไฟไหม้
ในกรณีที่มีการชอตรอบของมอเตอร์
จะทำให้เกิดความร้อนสูงขึ้นที่ขดลวด
ฟิวส์ตัวนี้จะขาดทันทีเพื่อป้องกันไฟไหม้

เอาสายมิเตอร์จับที่สายไฟACที่ผ่านสวิทช์เป็นหลัก
กดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ วัดได้ 3 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน วัดได้ 2 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง วัดได้ 8 โอมห์
สวิทช์ที่ดีควรมีโอมห์ที่สวิทช์ ประมาณ 0 โอมห์
แต่การวัดนี้ได้โอมห์สูง ประมาณ 8โอมห์

แต่การวัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลถ้าหน้าสัมผัสไม่ดี
จะวัดได้โอมห์ที่สูงกว่าความเป็นจริง
  ลองวัดสวิทช์ที่3 ด้วยมิเตอร์เข็มแล้วได้ 1.7โอมห์เท่านั้น
แต่ถ้ามีโอมห์สูงประมาณที่วัดมานี้ก็สามารถใช้งานได้

ได้ลองใช้งานจริงแล้ว
และปัจจุบันก็ยังใช้งานอยู่ ไม่มีปัญหาครับ

การวัดโอมห์ต้องดึงปลั๊กไฟออกก่อน

มิเตอร์เข็ม ตั้งย่านX1 ซีโร่โอมห์
  สายไฟACเส้นหนึ่งจะเข้ามาที่สวิทช์
แล้วผ่านฟิวส์ 0.5A250VAC

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์1 คือสายสีดำ

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์2 คือสายสีน้ำเงิน

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3
ไฟACก็จะผ่านฟิวส์มาเข้าที่สวิทช์เบอร์3 คือสายสีแดง

วัดคร่อมฟิวส์0.5A ได้ 0.1โอมห์
ฟิวส์ตัวนี้เวลาเปลี่ยนควรใช้แบบที่มีเครื่องหมายCE
รับรองครับ เพื่อความเที่ยงตรง

ฟิวส์ตัวนี้จะทำหน้าที่ป้องกันไฟไหม้
ในกรณีที่มีการชอตรอบของมอเตอร์
จะทำให้เกิดความร้อนสูงขึ้นที่ขดลวด
ฟิวส์ตัวนี้จะขาดทันทีเพื่อป้องกันไฟไหม้

เอาสายมิเตอร์จับที่สายไฟACที่ผ่านสวิทช์เป็นหลัก
กดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ วัดได้ 1.2 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน วัดได้ 1.6 โอมห์
กดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง วัดได้ 1.7 โอมห์
สวิทช์ที่ดีควรมีโอมห์ที่สวิทช์ ประมาณ 0 โอมห์

ในกรณีนี้
ถ้าใช้มิเตอร์ดิจิตอลจะได้โอมห์ที่สูงกว่าความเป็นจริง
คือ
สวิทช์เบอร์1 ได้ 3 โอมห์
สวิทช์เบอร์2 ได้ 2 โอมห์
สวิทช์เบอร์3 ได้ 8 โอมห์
การวัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115
ถ้าหากหน้าสัมผัสไม่ดีจะเกิดโอมห์ที่สูงกว่าความเป็นจริง
ถ้าใช้มิเตอร์เข็มจะแม่นยำกว่า

หน้าสัมผัสสวิทช์มีโอมห์ระดับนี้
จะไม่มีปัญหาในการใช้งาน
ได้ลองใช้งานจริงแล้ว
และปัจจุบันยังใช้งานอยู่ ไม่มีปัญหาครับ

สีสายไฟของพัดลมTOSHIBA
จะใช้สีประจำตัวดังนี้

ขดรัน บางคนเรียกว่า ขดมอเตอร์หลัก

สีขาวคือสายไฟACเส้นหนึ่งที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆ
สายสีดำ  คือสายสวิทช์เบอร์1
สายสีน้ำเงิน คือสายสวิทช์เบอร์2
สายสีแดง คือสายสวิทช์เบอร์3

สายสีน้ำเงินจะมี2เส้น แต่จะไม่เกี่ยวข้องกัน
สายสีน้ำเงินที่มาจากสวิทช์เบอร์2
จะเป็นสายสวิทช์เบอร์2
  ส่วนสายสีน้ำเงินที่ขั้วCคาปาซิเตอร์(ซีสตาร์ท)
จะเป็นสายสตาร์ท(START)

ที่Cคาปาซิเตอร์(ซีสตาร์ท)
คาปาซิเตอร์ จะมี2ขั้ว
  ขั้วหนึ่งจะเป็นสายสีเขียว(สายเล็กกว่าสายอื่น)
สายสีเขียวเป็นสายรันแบบครึ่งขด
หมายถึงต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
  อีกขั้วหนึ่งคือสายสีน้ำเงิน สายสีน้ำเงินคือสายสตาร์ท

ขดรันคือสายสีแดง(สายสวิทช์เบอร์3)
กับสายสีขาว(สายไฟACเส้นที่จั๊มเข้ามาตรงๆ)

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า2.5UF 200VAC 50HZ

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า 2.5UF 200VAC 50HZ
วัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115
ตั้งเป็นย่านVAC การวัดไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว
เสียบไฟบ้าน220VAC
  กดสวิทช์เบอร์1  วัดCได้ 176 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 328 VAC
  กดสวิทช์เบอร์2  วัดCได้ 184 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 357 VAC
  กดสวิทช์เบอร์3  วัดCได้ 166 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 368 VAC
  สังเกตุว่า พัดลมTOSHIBA
โวลท์ของเบอร์2มากสุด
ส่วนเบอร์3 โวลท์ต่ำสุด ต่ำกว่าเบอร์1
ถ้าเป็นอย่างนี้ไม่เสีย
เพราะการจัดวงจรที่ต่างออกไป คือ
สายรันสีเขียวที่ต่ออยู่ที่ขั้วCเป็นสายเล็กกว่าสายอื่น
ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ส่วนยี่ห้ออื่นเช่นHATARI จะต่อขดรันแบบเต็มขด

ถ้าวัดได้อย่างนี้แสดงว่า Cดี
ขดลวดทั้ง4ขด คือสตาร์ทขดที่1,2,3
และขดลวดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ดี
สวิทช์ดี ทุกอย่างดี

สายสวิทช์เบอร์1สีดำ เบอร์2สีน้ำเงิน เบอร์3สีแดง
สายสตาร์ทต่ออยู่ที่ขั้วCสีน้ำเงิน
สายรันต่อยู่ที่ขั้วCสีเขียว(สายเล็ก)
สายสีน้ำเงินที่ขั้วCคาปาซิเตอร์
กับสายสีน้ำเงินที่สวิทช์เบอร์2 เป็นสายคนละส่วนกัน

สายรัน(สายมอเตอร์หลัก)สีเขียวเล็ก
จะต่ออยู่ที่ขั้วC(คาปาซิเตอร์)
จะต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
สายสวิทช์เบอร์1 2 3เป็นสายคอมม่อนหรือสายร่วม

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์1สีดำเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้228VAC
เป็นการวัดไฟรัน 3ขด คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้228VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่2และ3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบาที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 171VAC
เป็นการวัด2ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้5.9VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์2สีน้ำเงินเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้228VAC
เป็นการวัดไฟรัน 2ขด คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก) ได้228VAC
เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบากว่าสวิทช์เบอร์3
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 155VAC
เป็นการวัด1ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้35VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
รวมกัน2ขด

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์3สีแดงเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้228VAC
เป็นการวัดไฟรัน 1ขด คือ ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้228VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ตอนนี้จะไม่มีขดสตาร์ทมาจำกัดกระแสแล้ว
ทำให้มอเตอร์หมุนแรงที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 99.7VAC
เป็นการวัดขดรันหรือขดมอเตอร์หลักครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้141VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
กับสตาร์ทขดที่3 รวมกัน3ขด

ขดสตาร์ทขดที่2 และสตาร์ทขดที่3
จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ท กับ จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เช่น
เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ขดสตาร์ทขดที่3 จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เพื่อให้หมุนได้เบากว่าสวิทช์เบอร์3
และแรงกว่าสวิทช์เบอร์1
  ส่วนขดสตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่1
จะทำหน้าที่เป็นไฟสตาร์ทให้กับมอเตอร์
จึงจะทำให้มอเตอร์หมุนไปได้นั่นเอง

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า 2.5UF 200VAC 50HZ
วัดด้วยมิเตอร์เข็ม
ตั้งเป็นย่านVAC การวัดไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว
เสียบไฟบ้าน220VAC
  กดสวิทช์เบอร์1  วัดCได้ 170 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 328 VAC
  กดสวิทช์เบอร์2  วัดCได้ 177 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 357 VAC
  กดสวิทช์เบอร์3  วัดCได้ 156 VAC
ถ้าเป็นHATARI 18นิ้ว จะได้ 368 VAC
  สังเกตุว่า พัดลมTOSHIBA
โวลท์ของเบอร์2มากสุด
ส่วนเบอร์3 โวลท์ต่ำสุด ต่ำกว่าเบอร์1
ถ้าเป็นอย่างนี้ไม่เสีย
เพราะการจัดวงจรที่ต่างออกไป คือ
สายรันสีเขียวที่ต่ออยู่ที่ขั้วCเป็นสายเล็กกว่าสายอื่น
ต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ส่วนยี่ห้ออื่นเช่นHATARI จะต่อขดรันแบบเต็มขด

ถ้าวัดได้อย่างนี้แสดงว่า Cดี
ขดลวดทั้ง4ขด คือสตาร์ทขดที่1,2,3
และขดลวดมอเตอร์หลัก(ขดรัน)ดี
สวิทช์ดี ทุกอย่างดี

สายสวิทช์เบอร์1สีดำ เบอร์2สีน้ำเงิน เบอร์3สีแดง
สายสตาร์ทต่ออยู่ที่ขั้วCสีน้ำเงิน
สายรันต่อยู่ที่ขั้วCสีเขียว(สายเล็ก)
สายสีน้ำเงินที่ขั้วCคาปาซิเตอร์
กับสายสีน้ำเงินที่สวิทช์เบอร์2 เป็นสายคนละส่วนกัน

สายรัน(สายมอเตอร์หลัก)สีเขียวเล็ก
จะต่ออยู่ที่ขั้วC(คาปาซิเตอร์)
จะต่ออยู่ประมาณกึ่งกลางของขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
สายสวิทช์เบอร์1 2 3เป็นสายคอมม่อนหรือสายร่วม

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์1 สายสีดำ(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์1สีดำเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้226VAC
เป็นการวัดไฟรัน 3ขด คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้226VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่2และ3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบาที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 168VAC
เป็นการวัด2ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่2,
ขดสตาร์ทขดที่3,ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้5.2VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1ขดเดียว

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์2 สายสีน้ำเงิน(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์2สีน้ำเงินเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้226VAC
เป็นการวัดไฟรัน 2ขด คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก) ได้226VAC
เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ขดสตาร์ขดที่3ตอนนี้จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรันหรือขดมอเตอร์หลักเพื่อให้หมุนเบากว่าสวิทช์เบอร์3
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 154VAC
เป็นการวัด1ขดครึ่ง คือขดสตาร์ทขดที่3กับ
ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)ครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้35VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
รวมกัน2ขด

วัดไฟโดยการกดสวิทช์เบอร์3 สายสีแดง(สายคอมม่อน)
สายมิเตอร์สีดำจับที่สายสวิทช์เบอร์3สีแดงเป็นหลัก
สายสีแดงจับที่สายสีขาว
สายสีขาวคือสายไฟACที่เข้ามาที่ขดรันตรงๆได้226VAC
เป็นการวัดไฟรัน 1ขด คือ ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
ได้226VAC เท่ากับเป็นการวัดไฟบ้าน(ไฟAC)ตรงๆ
ตอนนี้จะไม่มีขดสตาร์ทมาจำกัดกระแสแล้ว
ทำให้มอเตอร์หมุนแรงที่สุด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายรันสีเขียว(สายที่เล็กกว่าเส้นอื่น)
ที่ขั้วCได้ 99VAC
เป็นการวัดขดรันหรือขดมอเตอร์หลักครึ่งขด
สายสีแดงย้ายไปจับที่สายสตาร์ทสีน้ำเงินที่ขั้วCได้137VAC
เป็นการวัดขดสตาร์ทขดที่1กับขดสตาร์ทขดที่2
กับสตาร์ทขดที่3 รวมกัน3ขด

ขดสตาร์ทขดที่2 และสตาร์ทขดที่3
จะทำหน้าที่2อย่าง
คือทำหน้าที่สตาร์ท กับ จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เช่น
เมื่อกดสวิทช์เบอร์2
ขดสตาร์ทขดที่3 จะทำหน้าที่จำกัดกระแส
ให้ขดรัน(ขดมอเตอร์หลัก)
เพื่อให้หมุนได้เบากว่าสวิทช์เบอร์3
และแรงกว่าสวิทช์เบอร์1
  ส่วนขดสตาร์ทขดที่2กับสตาร์ทขดที่1
จะทำหน้าที่เป็นไฟสตาร์ทให้กับมอเตอร์
จึงจะทำให้มอเตอร์หมุนไปได้แรงกว่าสวิทช์เบอร์1นั่นเอง

รุ่นนี้ใช้Cสตาร์ท ค่า 2.5UF 200VAC 50/60HZ
วัดด้วยมิเตอร์ดิจิตอลFLUKE115
ปรับไปย่านC
แล้วกดปุ่นสีเหลืองก็จะเป็นย่านวัดคาปาซิเตอร์
การวัดไม่ต้องคำนึงถึงขั้ว
วัดได้ 2.46UF ถ้าวัดได้ค่าลดเล็กน้อยแบบนี้
ก็ถือว่าCดีไม่มีปัญหาครับ

พัดลมTOSHIBAรุ่นEL858Cเป็นพัดลม12นิ้ว

พัดลมจะมีขดลวดอยู่4ขด
1.ขดSTARTขดที่1 = 25.2 โอมห์
2.ขดSTARTขดที่2 = 100.7 โอมห์
3.ขดSTARTขดที่3 = 261.5 โอมห์
4.ขดรันหรือขดมอเตอร์หลัก = 434 โอมห์

ถ้าวัดคร่อมCAPACITORจะได้ 604.4 โอมห์
เป็นการวัดขดลวด3ขดครึ่งรวมกัน
คือขดสตาร์ทที่1,ขดสตาร์ทที่2,ขดสตาร์ทที่3,
และขดมอเตอร์หลัก(ขดรัน) ครึ่งขด

CAPACITORในที่นี้ผมขอเรียกย่อๆว่าC หรือคาปาซิเตอร์
ขดรันเรียกอีกอย่างว่าขดมอเตอร์หลัก

ขดSTARTขดที่2 กับขดSTARTขดที่3
จะทำหน้าที่2อย่าง คือ
สตาร์ท กับจำกัดกระแสให้ขดรัน
ขึ้นอยู่กับว่าจะกดสวิทช์เบอร์อะไร
การทำงานจะเปลี่ยนไปตามการกดสวิทช์
/////////////////////////////////////////////////////
สายคอมม่อนคือสายร่วม มี3เส้น
คือสายสวิทช์เบอร์1สีดำ
สายสวิทช์เบอร์2สีน้ำเงิน
สายสวิทช์เบอร์3สีแดง
ส่วนสายสีขาวจะเป็นไฟACที่เข้าไปที่ขดรันตรงๆ
ส่วนสายที่อยู่ที่ขั้วCค่า2.5UF200VAC50/60HZ
คือสายสีน้ำเงิน สายสีน้ำเงินนี้คือสายสตาร์ท
ส่วนสายสีน้ำเงินที่สวิทช์เบอร์2 จะไม่เกี่ยวข้องกัน
ส่วนอีกเส้นที่ต่ออยู่ที่ขั้วCคือสายสีเขียว
สายสีเขียว(เส้นเล็ก)คือสายรันแบบครึ่งขด

เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์1
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีดำซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์1
แล้วสายสีดำจะแยกออกเป็น3ทาง
สายสีดำแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากขดรันก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับไฟACอีกเส้น ครบวงจร

สายสีดำแยกที่2
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่2ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันประมาณครึ่งขด
ออกมาเป็นสายสีเขียวเข้าที่ขั้วคาปาซิเตอร์
เรียกสายเส้นนี้ว่าสายรันแบบครึ่งขด

สายสีดำแยกที่3
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่1เข้าไปที่ขาคาปาซิเตอร์อีกขั้ว
คือสายสีน้ำเงิน
สายสีน้ำเงินนี้เรียกว่าสายสตาร์ท
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACV
แต่ต่อออกมาที่คาปาซิเตอร์สายสีเขียว
เพียงประมาณครึ่งขดรัน แรงไฟจึงเหลือประมาณ110VAC
แต่จังหวะที่คาปาซิเตอร์คลายประจุจะมีแรงดันเป็น2เท่า
คือ 220VAC แต่มีโหลดและการจัดวงจรจึงทำให้ไฟตกลงมา
เหลีอไม่เกิน 200VAC
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุน แต่ไม่มีเสียงตืดใดๆ
ถ้าเป็นเครื่องซักผ้าจะมีเสียงตืดให้ได้ยิน

ในพัดลมTOSHIBAรุ่น12นิ้ว ที่ทำการทดลองวัดนี้ใช้
Cค่า2.5UF/200VAC/50/60HZ
สมมุติถ้าใช้ค่าCที่สูงกว่านี้ก็จะทำให้มอเตอร์หมุนแรงขึ้น
แต่ไม่ทนคือพังง่ายนั่นเอง

แต่ถ้าวัดไฟคร่อมCAPACITORจะได้ไม่ถึง200VAC
เพราะเมื่อมีโหลดไฟก็จะตกลงมาตามส่วน
สำหรับTOSHIBAรุ่น12นิ้วนี้ วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 176 ACV
สวิทช์เบอร์2 184 ACV
สวิทช์เบอร์3 166 ACV
สังเกตุว่า ไฟคร่อมCที่สวิทช์เบอร์3จะต่ำที่สุด

ถ้าเป็นHATARIรุ่น18นิ้ว วัดไฟคร่อมCจะได้ดังนี้
สวิทช์เบอร์1 328 ACV
สวิทช์เบอร์2 357 ACV
สวิทช์เบอร์1 368 ACV
สังเกตุว่า ไฟคร่อมCที่สวิทช์เบอร์3จะมากที่สุด
///////////////////////////////////////////////////
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์2
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีน้ำเงินซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์2
แล้วสายสีน้ำเงินจะแยกออกเป็น3ทาง
สายสีน้ำเงินแยกที่1
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันตามลำดับ
เมื่อไฟACออกจากขดรันก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับไฟACอีกเส้น ครบวงจร

สายสีน้ำเงินแยกที่2
เข้าไปที่ขดSTARTขดที่3ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่จำกัดกระแส
แล้วเข้าขดลวดรันประมาณครึ่งขด
ออกมาเป็นสายสีเขียวเข้าที่ขั้วคาปาซิเตอร์
เรียกสายเส้นนี้ว่าสายรันแบบครึ่งขด

สายสีน้ำเงินแยกที่3
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่2และขดSTARTขดที่1
เข้าไปที่ขาคาปาซิเตอร์อีกขั้ว คือสายสีน้ำเงิน
สายสีน้ำเงินนี้เรียกว่าสายสตาร์ท
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACV
แต่ต่อออกมาที่คาปาซิเตอร์สายสีเขียว
เพียงประมาณครึ่งขดรัน แรงไฟจึงเหลือประมาณ110VAC
แต่จังหวะที่คาปาซิเตอร์คลายประจุจะมีแรงดันเป็น2เท่า
คือ 220VAC แต่มีโหลดและการจัดวงจรจึงทำให้ไฟตกลงมา
เหลีอไม่เกิน 200VAC
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุน แต่ไม่มีเสียงตืดใดๆ
ถ้าเป็นเครื่องซักผ้าจะมีเสียงตืดให้ได้ยิน
///////////////////////////////////////////////////////
เมื่อมีการกดสวิทช์เบอร์3
สายไฟACสีน้ำตาลจะต่อไฟเข้าสายสีแดงซึ่งเป็นสวิทช์เบอร์3
แล้วสายสีแดงจะแยกออกเป็น3ทาง
สายสีแดงแยกที่1
เข้าไปที่ขดขดรัน เพียงขดเดียว
เมื่อไฟACออกจากขดรันก็จะเป็นสายสีขาว
ต่อเข้ากับไฟACอีกเส้น ครบวงจร

สายสีแดงแยกที่2
เข้าไปที่ขดรันประมาณครึ่งขด
ออกมาเป็นสายสีเขียวเข้าที่ขั้วคาปาซิเตอร์
เรียกสายเส้นนี้ว่าสายรันแบบครึ่งขด

สายสีแดงแยกที่3
ไฟACผ่านขดSTARTขดที่3และขดSTARTขดที่2
และขดSTARTขดที่1
เข้าไปที่ขาคาปาซิเตอร์อีกขั้ว คือสายสีน้ำเงิน
สายสีน้ำเงินนี้เรียกว่าสายสตาร์ท
ทำให้ไฟSTARTครบวงจร
CAPACITORเกิดการเก็บประจุและคลายประจุ
เนื่องจากไฟบ้านในประเทศไทยใช้220VAC/50HZ
ดังนั้นจึงเก็บประจุ50ครั้งและคลายประจุ50ครั้งภายใน1วินาที
ตามความถี่50HZ
ทำให้CAPACITORมีแรงไฟเพิ่มขึ้นประมาณ2เท่าคือ
จากไฟบ้าน220ACV
แต่ต่อออกมาที่คาปาซิเตอร์สายสีเขียว
เพียงประมาณครึ่งขดรัน แรงไฟจึงเหลือประมาณ110VAC
แต่จังหวะที่คาปาซิเตอร์คลายประจุจะมีแรงดันเป็น2เท่า
คือ 220VAC แต่มีโหลดและการจัดวงจรจึงทำให้ไฟตกลงมา
เหลีอไม่เกิน 200VAC
ทำให้เกิดแรงฉุดมอเตอร์ให้หมุนได้
ถ้าCแห้งมอเตอร์ก็จะไม่หมุน แต่ไม่มีเสียงตืดใดๆ
ถ้าเป็นเครื่องซักผ้าจะมีเสียงตืดให้ได้ยิน
///////////////////////////////////////////////////

เมื่อกดสวิทช์เบอร์1 พัดลมจะหมุนเบาสุด
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดลวด2ขด
คือ ขดSTARTขดที่2, กับขดSTARTขดที่3

เมื่อกดสวิทช์เบอร์2 พัดลมจะหมุนปานกลาง
เพราะมีการจำกัดกระแสด้วยขดSTARTขดที่3
เพียงขดเดียวเท่านั้น

เมื่อกดสวิทช์เบอร์3 พัดลมจะหมุนแรงสุด
เพราะไม่มีการจำกัดกระแส
เป็นการเข้าแบบตรงๆ

พัดลมTOSHIBAรุ่นEL858Cเป็นพัดลม12นิ้ว

สำหรับสวิทช์ของพัดลมTOSHIBAรุ่นนี้
จะใช้ริเวทยิงเพื่อยึดสะพานไฟซึ่งเป็นทองแดง
ดังนั้นเมื่อมีการถอดสวิทช์ออกมาตรวจเช็ค
จะทำให้สะพานไฟหลุดออกจากร่องบาก
ทำให้เมื่อใช้งานไปสักพัก
ก็จะเคลื่อนออกจากตำแหน่งสวิทช์
ทำให้สวิทช์เบอร์นั้นกดไม่ติด

ให้หมุนสะพานไฟแล้วกดเข้าไปในร่องบาก
เพื่อล็อคสะพานไฟไม่ให้เคลื่อนที่
เท่านี้ก็เป็นอันว่าเสร็จ
ดูตัวอย่างจากสวิทช์อื่น

เวลาใส่กลับเข้าไป
สายไฟควรใส่เข้าไปในร่องฐานตามเดิม
เพื่อไม่ให้สะพานไฟเคลื่อนที่หลุดออกมาอีก

เวลากดสวิทช์จะมีก้อนพลาสติกกดไปที่สะพานไฟ
ทำให้สะพานไฟโน้มลงไปแตะกับแผ่นรับสวิทช์
แผ่นรับสวิทช์จะเป็นแท่งทองแดงยาว
อยู่ระหว่างสวิทช์เบอร์1ถึง3 เพื่อรับการกดสวิทช์
  เมื่อสายไฟACผ่านขดลวดมอเตอร์
แล้วมาผ่านสะพานไฟ
เมื่อกดสวิทช์สะพานไฟก็จะแตะกับแท่งรับสวิทช์
ผ่านฟิวส์0.5Aแล้วเข้าสายไฟACอีกเส้น
ทำให้ครบวงจรพัดลมติดได้นั่นเอง

เมื่อมอเตอร์เกิดการช็อทรอบ
ก็จะทำให้มีการกินกระแสมากขึ้น
จนทำให้ฟิวส์ขาด

ถ้าฟิวส์เกิดการชำรุดก็อาจจะขาดเองได้เช่นกัน


ไม่มีความคิดเห็น: